1 / 22

บทบาทของบุคลากรสายสนับสนุนต่อการพัฒนาด้านวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

บทบาทของบุคลากรสายสนับสนุนต่อการพัฒนาด้านวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุขอังคณา ลี รองคณบดีฝ่ายวิชาการ สัมมนาบุคลากร ประจำปี 2551. 27 มีนาคม 2552. อ้างอิง.

kamal-wall
Download Presentation

บทบาทของบุคลากรสายสนับสนุนต่อการพัฒนาด้านวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของบุคลากรสายสนับสนุนต่อการพัฒนาด้านวิชาการคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุขอังคณา ลี รองคณบดีฝ่ายวิชาการ สัมมนาบุคลากร ประจำปี 2551 27 มีนาคม 2552

  2. อ้างอิง • ดร.จิรณี ตันติรัตนวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาเอกสารอภิปราย เรื่อง “ความสำคัญและการดำเนินงานด้านกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย” วันศุกร์ที่ 23 พฤษภาคม 2551 ณ ห้องประชุมสุธรรม อารีกุล อาคารสารนิเทศ 50 ปี ชั้น 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กทม.

  3. ระดับนโยบาย ระดับการนำไปสู่การปฏิบัติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานด้านการบริหาร จัดการการอุดมศึกษา มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (NQF) รายละเอียดของหลักสูตรแต่ละสาขาวิชา

  4. เกณฑ์แนวทางอื่น ๆ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ National Qualifications Framework เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์กำหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑ์การเทียบโอน NQF ระดับสาขาวิชา วางแผนปรับปรุง + พัฒนา รายละเอียดของหลักสูตร รายละเอียด ของรายวิชา การรายงานผลหลักสูตรประจำปี กระบวนการเรียนการสอน (มุ่งเน้นกลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้) การรายงานผล รายวิชา การวัดผลประเมินผล (มุ่งวัดกลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้) กลวิธีการสอนแบบต่าง ๆ Teaching Unit (รายงานผลการดำเนินการในภาพรวม ของหลักสูตร เทียบกับแผนและเสนอ แนวทางในการปรับปรุง) การวิจัยในห้องเรียน จะต้องมีการประกันคุณภาพทุกขั้นตอน

  5. บทบาทผู้บริหาร • กำหนดนโยบายในการนำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาสู่การปฏิบัติไว้อย่างชัดเจน • ให้การสนับสนุนการดำเนินการอย่างเป็นระบบในการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา จริงจังและต่อเนื่องในการผลักดันให้เกิดผู้เชี่ยวชาญเพื่อเป็น Trainer ในการพัฒนาหลักสูตร และการสอน สามารถให้คำแนะนำ สนับสนุนคณาจารย์ได้อย่างถูกต้อง • ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการสร้างและใช้ความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคณาจารย์ด้วยกันเอง ทั้งในและต่างสถาบันจนเกิดวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้

  6. บทบาทอาจารย์-ครู • ตระหนักถึงเป้าหมายของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาบัณฑิตตามนโยบายของชาติ • ติดตามพัฒนาการทางการศึกษาและจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อให้ถึงเป้าหมายดังกล่าว • มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของบัณฑิตตามกรอบ NQF • ศึกษาหาความรู้และนำกลยุทธ์การสอนแบบใหม่ ๆ ไปใช้ใน การเรียนการสอนรวมถึงการใช้เกี่ยวกับกระบวนการวัดผลนักศึกษา การประเมินและพัฒนาหลักสูตรได้อย่างเหมาะสม

  7. บทบาทสายสนับสนุน • ศึกษาและทำความเข้าใจกับนโยบายและการดำเนินการในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของบัณฑิต • ช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินการของผู้บริหารและคณาจารย์ในการส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ • พัฒนาตนเองด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนร่วมงาน/ร่วมอาชีพทั้งในสถาบันอุดมศึกษาของตนเองและสถาบันอื่นเพื่อให้เกิดวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ และนำมาพัฒนางานให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

  8. พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การทำงานให้สำเร็จขึ้นอยู่กับความสามารถสองอย่างเป็นสำคัญ คือ สามารถในการใช้วิชาความรู้อย่างหนึ่ง สามารถในการประสานสัมพันธ์กับผู้อื่นอีกอย่างหนึ่ง ทั้งสองประการนี้ต้องดำเนินคู่กันไป และจำเป็นต้องกระทำด้วยความสุจริตกาย สุจริตใจ ด้วยความคิด ความเห็นที่เป็นอิสระ ปราศจากอคติ และด้วยความถูกต้อง ตามเหตุตามผลด้วย จึงจะช่วยให้งานบรรลุจุดหมายและประโยชน์ที่พึงประสงค์โดยครบถ้วน

  9. การทำงานเป็นทีม • วิธีที่ดีที่สุดในการที่จะพัฒนาทีมของเรา คือ พัฒนาตัวเรานั่นเอง • เริ่มจากการเตรียมตัวให้พร้อมทุกสถานการณ์ ก่อนที่โอกาสจะมาถึง • วันนี้ถ้าเราเตรียมให้พร้อม (Prepare) วันพรุ่งนี้ก็ไม่ต้องมาคอยแก้ไขเรื่องต่างๆ(Repair)

  10. แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการทำงานร่วมกันของบุคคลแนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการทำงานร่วมกันของบุคคล • ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล • เปิดเผย จริงใจ ร่วมกันแก้ปัญหา • ทบทวนการปฏิบัติงาน และ พัฒนาตนเอง

  11. การพัฒนาตนเอง • คุณเชื่อมั่นในงานของตัวเองหรือเปล่า? • คุณเชื่อมั่นว่าคุณจะทำสำเร็จ หรือบรรลุเป้าหมายได้หรือไม่? • ความเชื่อมั่นในงานของตนเอง จะทำให้เรามีพลังมากขึ้น ความเชื่อมั่น ความคาดหวัง ที่ดี การลงมือทำ ผลงานที่ดี

  12. ขั้นตอนการเรียนรู้ • ขั้นที่ 1 ลงมือทำ • ขั้นที่ 2 มองหาข้อผิดพลาดและประเมินผล • ขั้นที่ 3 แสวงหาวิธีที่ดีกว่าในการทำงานนั้น • ขั้นที่ 4 กลับไปขั้นที่ 1

  13. ความคิดเดิม การเรียนการสอนแบบเดิม ความคิดใหม่ การเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนการเรียนรู้

  14. ความสำเร็จอยู่ที่ผลลัพธ์ของผู้สอน ครูมุ่งไปเพียงว่ามีวิธีสอนอย่างไร ที่ทำให้เด็กมีกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายเน้นการคิดเอง ปฏิบัติเอง ความสำเร็จอยู่ที่ผลลัพธ์ของผู้เรียน คือ ผู้เรียนทุกคนมีผลการเรียนรู้ที่สมบูรณ์ครบถ้วนตามความมุ่งหมายของหลักสูตร แม้ผู้เรียนแต่ละคนจะมีความแตกต่างกัน แต่ครูมีฝีมือที่จะทำให้ผู้เรียนทุกคนบรรลุผลตามที่พึงปรารถนาได้ ด้านการสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน รายงานปฏิรูปการศึกษาไทย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 46. 15 ตุลาคม 2544

  15. ผู้เรียนมีความสามารถต่างกันจึงมีผลการเรียนไม่เท่ากัน (เด็กมันโง่เอง, ขาดความรับผิดชอบ ฯลฯ) ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้เท่ากัน ถ้าครูจัดวิธีการเรียนให้เหมาะกับความสามารถของเขา ด้านการสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน (ต่อ) รายงานปฏิรูปการศึกษาไทย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 46. 15 ตุลาคม 2544

  16. ผลของการเรียน คือความรู้ที่แสดงออกด้วยการจดจำความจริง กฎ เกณฑ์ต่าง ๆ ที่เป็นเนื้อหา ผลของการเรียน คือ ความสมดุลของความรู้ ความคิด ความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ใช้ การแก้ปัญหา การเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เป็นต้น ด้านการสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน (ต่อ) รายงานปฏิรูปการศึกษาไทย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 46. 15 ตุลาคม 2544

  17. การวัดผลประเมินผลมีจุดอ่อนในการยึดเพียงเนื้อหาตามตำราการวัดผลประเมินผลมีจุดอ่อนในการยึดเพียงเนื้อหาตามตำรา การวัดผลเน้นการติดตามผลการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลตลอดเวลา ใช้วิธีการวัดและการประเมินหลายอย่าง ทั้งการประเมินจากพฤติกรรม ผลงาน ข้อสอบ เป็นต้น ด้านการสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน (ต่อ) รายงานปฏิรูปการศึกษาไทย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 46. 15 ตุลาคม 2544

  18. ผู้เรียนเรียนรู้จากการอ่าน การฟัง การฝึก และการจดจำ ผู้เรียนเรียนรู้จากได้รับประสบการณ์จากแหล่งต่าง ๆ จากการค้นคว้า ทดลอง ปฏิบัติ สอบถามผู้รู้ วิเคราะห์ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ด้านการจัดการเรียนรู้ รายงานปฏิรูปการศึกษาไทย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 46. 15 ตุลาคม 2544

  19. ครูมีกระบวนการสอนที่เป็นมาตรฐานตายตัวใช้กับผู้เรียนทุกคนครูมีกระบวนการสอนที่เป็นมาตรฐานตายตัวใช้กับผู้เรียนทุกคน ครูรู้จักจุดเด่นจุดด้อยผู้เรียนรายบุคคล ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่นและหลากหลาย ด้านการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) รายงานปฏิรูปการศึกษาไทย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 46. 15 ตุลาคม 2544

  20. ปล่อยให้เด็กทำกิจกรรมเรียนรู้ตามลำพัง ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก ครูทำหน้าที่พี่เลี้ยง ให้คำแนะนำ ร่วมวางแผน ติดตามผลการทำกิจกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) รายงานปฏิรูปการศึกษาไทย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 46. 15 ตุลาคม 2544

  21. หัวใจสำคัญของความสำเร็จหัวใจสำคัญของความสำเร็จ • อยู่ที่ความเป็นครูมืออาชีพที่มุ่งมั่น คิดค้น แสวงหาวิธีการต่าง ๆ ที่จะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนมีความสำเร็จในการเรียนรู้เต็มศักยภาพ ครบถ้วนตามมาตรฐาน โดยใช้พื้นฐานของความรักและความเมตตาที่ครูมีต่อผู้เรียนทุกคนอย่างแท้จริง รายงานปฏิรูปการศึกษาไทย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 46. 15 ตุลาคม 2544

More Related