1 / 15

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก. ความหมายของกราฟิก กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ

inara
Download Presentation

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ความหมายของกราฟิก • กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ • คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ เช่น การทำภาพคนแก่ให้ดูมีวัยเด็กขึ้น เป็นต้น • พิกเซล (Pixel) หมายถึง องค์ประกอบที่เกิดจากจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่รวมตัวกันเกิดเป็นภาพ

  2. ความละเอียดของภาพ  ใช้หน่วยวัดเป็น (ppi : Pixel per Inch) คือ พิกเซลต่อนิ้ว เช่น 300 ppi หรือ 600 ppi เป็นต้น • ความละเอียดของจอภาพ  จะขึ้นอยู่กับวิดีโอการ์ด หรือการ์ดจอ เช่น 800600 , 1204 768 เป็นต้น • 1024 = แนวนอน • 768 = แนวตั้ง *** ภาพที่แสดงออกมา จะมีความคมชัดต่างกัน ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่นำมาแสดงผล ถึงแม้ว่าภาพนั้นจะเป็นภาพเดียวกันก็ตาม ***

  3. ความละเอียดของเครื่องพิมพ์ความละเอียดของเครื่องพิมพ์ • หน่วยที่ใช้วัดความละเอียดของเครื่องพิมพ์ เรียกว่า dpi (Dot per Inch) หมายถึง ดอทต่อนิ้ว เช่น  ความละเอียดในการพิมพ์ที่ 600 dpi  แสดงว่าเครื่องพิมพ์มีความสามารถในการพิมพ์ได้ 600 จุด ทุก ๆ 1 นิ้ว

  4. ความรู้เกี่ยวกับสี • คอมพิวเตอร์สามารถสร้างและแสดงสีในภาพได้เป็นหลายล้านสี และมีวิธีการจดจำและอ้างอิงค่าสีโดยอาศัยดัชนีเป็นตารางสี เช่น การ์ดจอ ที่สามารถแสดงสีได้ 2 บิต จะแสดงสีได้ 4 สี คือ 22= 4 จำนวนบิตจำนวนสี 4 บิต 24 = 16 สี 8 บิต 28 = 256 สี 16 บิต 216 = 65,536 สี 24 บิต 224 = 16.7 ล้านสี *** คอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลใน 1 บิต ได้ 2 ค่า คือ 0 กับ 1 *** *** ปัจจุบันคอมพิวเตอร์สามารถแสดงสีได้ 24 , 32 , 64บิต ***

  5. ประเภทของภาพกราฟิก มี 2 ประเภท คือ • ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่เราพบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตูนต่างๆ ในโทรทัศน์ เช่น การ์ตูนเรื่อง ชินจัง โดเรมอน เป็นต้น • ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ โดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม 3Ds max , โปรแกรม Maya เป็นต้น ซึ่งจะทำให้ได้ภาพมีสีและแสงเงาเหมือนจริง เหมาะกับงานด้านสถาปัตย์และการออกแบบต่าง ๆ รวมถึงการสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนหรือโฆษณาสินค้าต่าง ๆ เช่น การ์ตูนเรื่อง Nemo The Bugและการ์ตูนปังปอนด์แอนิเมชัน เป็นต้น

  6. การแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิกการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก • ภาพที่เกิดบนจอคอมพิวเตอร์ เกิดจากการทำงานของโหมดสี RGB ประกอบด้วย • Red (สีแดง) • Green (สีเขียว) • Blue (สีน้ำเงิน) โดยใช้หลักการยิงประจุไฟฟ้าให้เกิดการเปล่งแสงของสีทั้ง 3 สีมาผสมกันทำให้ เกิดเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) โดยพิกเซลจะมี หลากหลายสี เมื่อนำมาวางต่อกันจะเกิดเป็นรูปภาพ

  7. ชนิดของภาพกราฟิก • แบบราสเตอร์ (Raster ) • หรือเรียกว่าภาพแบบ Bitmap ก็ได้ เป็นภาพที่เกิดจากการเรียงตัวกันของจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หลากหลายสี ซึ่งเรียกจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ นี้ว่าพิกเซล (pixels) ถ้ากำหนดจำนวนพิกเซลให้กับภาพน้อย เวลาขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น จะมองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ หรือถ้ากำหนดจำนวนพิกเซลให้กับภาพมาก ก็จะทำให้แฟ้มภาพมีขนาดใหญ่ • ดังนั้นการกำหนดจำนวนพิกเซลต้องให้เหมาะกับงานที่จะสร้าง • ตัวอย่าง • - ภาพใช้งานทั่ว ๆไป ให้กำหนดพิกเซล ประมาณ 100-150 Pixel • - ภาพที่ใช้บนเว็บไซต์ ให้กำหนดพิกเซล ประมาณ 72 Pixel • - ถ้าเป็นภาพแบบงานพิมพ์ เช่น นิตยสาร โปสเตอร์ขนาดใหญ่ จะกำหนดพิกเซลประมาณ 300-350 Pixel

  8. ข้อดีของภาพชนิด Raster • สามารถแก้ไขปรับแต่งได้ • ตกแต่งภาพได้ง่ายและสวยงาม โปรแกรมที่นิยมนำมาสร้างภาพชนิด Raster • Adobe Photoshop , Adobe PhotoshopCS และ Paint เป็นต้น

  9. ตัวอย่างภาพแบบ Raster

  10. นามสกุลที่ใช้เก็บภาพแบบ Raster

  11. 2. ภาพแบบ Vector เป็นภาพที่เกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคำนวณ ซึ่งภาพจะมีความเป็นอิสระต่อกัน โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง เส้นโค้ง รูปทรง เมื่อมีการขยายภาพความละเอียดของภาพไม่ลดลง แฟ้มภาพมีขนาดเล็กกว่าภาพแบบ Raster

  12. ข้อดีของภาพแบบ Vector - นิยมนำไปใช้ในด้านสถาปัตย์ตกแต่งภายในและการออกแบบต่าง ๆ เช่น การออกแบบอาคาร การออกแบบรถยนต์ การสร้างโลโก้ การสร้างการ์ตูน โปรแกรมที่นิยมนำมาสร้างภาพแบบ Vector • - โปรแกรม Illustrator • - CorelDraw • - AutoCAD • - 3Ds max ฯลฯ

  13. ตัวอย่างภาพแบบ Vector

  14. นามสกุลที่ใช้เก็บภาพแบบ Vector

More Related