1 / 43

e-learning

การนำเสนองานกิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชา ครั้งที่ 69. e-learning. ภาควิชาอายุรศาสตร์. แผนกลยุทธ์ภาควิชาอายุรศาสตร์ ปี พ.ศ. 2552-2555. จัดทำสื่อการสอนที่มีคุณภาพ สำหรับ นศพ. สร้างระบบการติดต่อสื่อสาร และเผยแพร่ความรู้ และให้คำปรึกษาแก่ พชท. / พจบ. และแพทย์ใน รพ.ข้างเคียง.

herve
Download Presentation

e-learning

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำเสนองานกิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานของภาควิชา ครั้งที่ 69 e-learning ภาควิชาอายุรศาสตร์

  2. แผนกลยุทธ์ภาควิชาอายุรศาสตร์ ปี พ.ศ. 2552-2555 • จัดทำสื่อการสอนที่มีคุณภาพสำหรับ นศพ. • สร้างระบบการติดต่อสื่อสารและเผยแพร่ความรู้ และให้คำปรึกษาแก่ พชท./พจบ. และแพทย์ใน รพ.ข้างเคียง

  3. e-learning ของภาควิชาอายุรศาสตร์ • ใช้เป็นสื่อการสอนสำหรับนักศึกษา แพทย์ใช้ทุน แพทย์ประจำบ้าน • ใช้เป็นช่องทางการบริการวิชาการแก่แพทย์ในโรงพยาบาลต่างๆ • ใช้เป็นเครื่องมือสร้างสัมพันธภาพกับแพทย์ในโรงพยาบาลอื่นๆ

  4. e-learning ของภาควิชาอายุรศาสตร์ • CAI. • Virtual classroom • Web site and web board • Tele-conference

  5. CAI

  6. CAI. จำนวนบทเรียน CAI รายปี

  7. บทเรียน CAI

  8. บทเรียน CAI และการสำรวจการใช้งาน 2550-2552

  9. ผู้ผลิต: ผศ.พญ.กนกพร จิรัฐติกาลวงศ์ โปรแกรมการผลิตAuthorware เริ่มใช้:1/1/2538 ชั้นปีที่2ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่4(1) ชั้นปีที่5(7) ชั้นปีที่6(124) รวม 132 ครั้ง

  10. ผู้ผลิต: ศ.นพ.ธาดา ยิบอินซอย โปรแกรมการผลิต:Authorware เริ่มใช้:1/1/2539 ชั้นปีที่2ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่4(2) ชั้นปีที่5(5) ชั้นปีที่6(18) รวม 25 ครั้ง

  11. ผู้ผลิต: ศ.นพ.กรีฑา ธรรมคำภีร์ โปรแกรมการผลิตAuthorware เริ่มใช้:1/8/2542 ชั้นปีที่2ชั้นปีที่ 3(1) ชั้นปีที่4(1) ชั้นปีที่5(35) ชั้นปีที่6(59) รวม 96 ครั้ง

  12. ผู้ผลิต: นพ.ศรัณยู สุวรรณอักษร โปรแกรมการผลิตAuthorware เริ่มใช้:1/7/2544 ชั้นปีที่2(1)ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่4(1) ชั้นปีที่5(51) ชั้นปีที่6(64)รวม 117 ครั้ง

  13. ผู้ผลิต: ผศ.นพ.บดินทร์ ขวัญนิมิตร โปรแกรมการผลิตAuthorware เริ่มใช้:19/2/2547 ชั้นปีที่2ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่4(2) ชั้นปีที่5(33) ชั้นปีที่6(63)รวม 98 ครั้ง

  14. ผู้ผลิต: ผศ.นพ.พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา โปรแกรมการผลิต:Authorware เริ่มใช้:1/10/2547 ชั้นปีที่2ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่4 ชั้นปีที่5(6) ชั้นปีที่6(22) รวม 28 ครั้ง

  15. ผู้ผลิต: ผศ.พญ.สุวรรณา เศรษฐวัชราวนิช โปรแกรมการผลิตAuthorware เริ่มใช้:10/2/2547 ชั้นปีที่2(1)ชั้นปีที่ 3(65) ชั้นปีที่4(375) ชั้นปีที่5(201) ชั้นปีที่6(122)รวม 764 ครั้ง

  16. ผู้ผลิต: ผศ.พญ.สุวรรณา เศรษฐวัชราวนิช โปรแกรมการผลิตAuthorware เริ่มใช้:1/8/2547 ชั้นปีที่2(1)ชั้นปีที่ 3(46) ชั้นปีที่4(159) ชั้นปีที่5(99) ชั้นปีที่6(52)รวม 356 ครั้ง

  17. ผู้ผลิต: รศ.พญ.พรรณทิพย์ ฉายากุล โปรแกรมการผลิต:Flash เริ่มใช้:26/3/2550 ชั้นปีที่2(8) ชั้นปีที่ 3(2) ชั้นปีที่4(88) ชั้นปีที่5(104) ชั้นปีที่6(192) รวม 394 ครั้ง

  18. ผู้ผลิต: ผศ.พญ.กนกพร จิรัฐติกาลวงศ์ โปรแกรมการผลิต:Adobe Presenter เริ่มใช้:1/4/2552 ชั้นปีที่2ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่4(3) ชั้นปีที่5(33) ชั้นปีที่6(3) รวม 39 ครั้ง

  19. อยู่ในช่วงกำลังดำเนินการจัดทำ ผู้ผลิต อ.พญ.ไปรยา รุจิโรจน์จินดากุล

  20. ผลการสำรวจการใช้บทเรียน CAI (สุ่มนักศึกษาแพทย์ปี 4,5,6 ปฏิบัติงานภาควิชาอายุรศาสตร์จำนวน 33 คน เคยใช้ไม่เคยใช้ Hypertension 5 28 การรักษาโรคหืด 5 28 ECG 3 30 ภาวะ Shock 2 31 Hemodynamic management 2 31 in septic shock Fever(ไข้) 12 21 skin lesions 3 30

  21. ผลการสำรวจการใช้บทเรียน CAI (สุ่มนักศึกษาแพทย์ปี 4,5,6 ปฏิบัติงานภาควิชาอายุรศาสตร์จำนวน 33 คน เคยใช้ ไม่เคยใช้ Ischemic heart disease 2 31 The Neurological Examination Part I 14 19 The Neurological Examination Part II 14 19 Hyponatremia 11 22 Atlas of Clinical Dermatology 2 31 skin lesions II 3 30

  22. ผลการสำรวจการใช้บทเรียน CAI (สุ่มนักศึกษาแพทย์ปี 4,5,6 ปฏิบัติงานภาควิชาอายุรศาสตร์จำนวน 33 คน เหตุผลที่ไม่ได้ศึกษาบทเรียน CAI ไม่มีเวลา 11 คน ไม่สะดวกในการใช้ 9 คน ภาควิชาไม่บังคับ 2 คน ไม่สามารถ load file ได้ 10 คน ความจำเป็นที่ต้องเข้าไปศึกษาบทเรียน CAI จำเป็นมาก 18 คน จำเป็นระดับปานกลาง 15 คน

  23. ความเห็นของผู้ใช้ CAI. 1.ควรผลิตบทเรียน CAI เพิ่มเติมเรื่อง HIV infection, Approach Anemia ,COPD ,Asthma, chronic HBV, hepatoma, ABG,โรคไต, Hypo-Hyperkalemia 2. ข้อเสนอแนะบทเรียน CAI ที่พบคือ - hypertensionไม่มี menu กลับหน้าจอแรก,ช้ามาก, เนื้อหาละเอียดมาก - Fever เนื้อหาครบถ้วน อ่านเข้าใจ -The Neurological examมีตัวอย่างให้ดูมีภาพทำให้มองเห็นเข้าใจมากขึ้น - ระดับโซเดียมในเลือดต่ำ มีการถามตอบดีมาก

  24. Virtual Classroom ผศ.นพ.พงศักดิ์ ด่านเดชา

  25. Virtual Classroom(อ.พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา) N = 33 เคยเข้าไปศึกษา 12 คน ไม่เคยเข้าไปศึกษา 21 คน ประโยชน์ที่ได้รับ มาก 9 คน ปานกลาง 3 คน สาเหตุที่ท่านไม่ได้เข้าไปศึกษา virtual classroom ไม่มีประโยชน์ 1 คน ไม่มีเวลา 11 คน ไม่สะดวกในการใช้งาน 3 คน ภาควิชาไม่ได้บังคับ 2 คน กำลังจะเข้าไปศึกษา 5 คน

  26. Quit Smoking Web รศ.พญ.วิไลวรรณ วิริยะไชโย

  27. Website: Medinfo.psu.ac.th ผู้เข้าชม รวม 58,373 ครั้ง สำรวจเมื่อ 28 ตค.2552

  28. Quit smoking web & นศพ. N = 33 เคยเข้าไปศึกษา 13 คน ไม่เคยเข้าไปศึกษา 20 คน ประโยชน์มากน้อยเพียงใด มาก 8 คน ปานกลาง 5 คน สาเหตุที่ท่านไม่ได้เข้าไปศึกษา ไม่มีเวลา 13 คน ภาควิชาไม่ได้บังคับ 3 คน อื่น ๆ(ไม่ทราบว่ามี) 5 คน ไม่ตอบ 12 คน

  29. Web board: e-consult รศ.พญ.พรรณทิพย์ ฉายากุล

  30. e-consullt • เริ่มเปิดใช้ 17 เม.ย.2551 • จำนวนกระทู้ 435 กระทู้ • จำนวนผู้เยี่ยมชม 1,533 ครั้ง

  31. Tele-conference

  32. การสอนโดย tele-conference • เริ่มใช้ปีการศึกษา 2552 • นศ.ปี 4 • รพ.สงขลา

  33. การสอนโดย tele-conference • อุปสรรค์ และการแก้ไข • เวลา • มุมกล้อง • Skill ในการสอนผ่านกล้อง • ยังไม่เกิด 2-way communication • ภาพรังสีไม่ชัด • บรรยากาศในห้องเรียนเครือข่าย

  34. สิ่งที่ได้รับจากการจัด e-learning • ลดภาระการสอนในบางหัวเรื่อง • เป็นช่องทางให้ fellow แสดงศักยภาพและฝึกฝน • ได้รับการ feedback การจัดการเรียนการสอน • ส่งเสริม life-long learning skills • ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีกับศิษย์เก่า • เพิ่มช่องทางบริการวิชาการ • Identify นศ.ที่มีศักยภาพ

  35. โอกาสพัฒนา • ภาควิชากำหนดการเรียนการสอนแบบ e-learning เป็นกระบวนการสอนในหลักสูตรอย่างชัดเจนมากขึ้น • ขยายประเด็น e-consult ให้กว้างขึ้น • จัดการพัฒนาอาจารย์ในการสอนผ่าน tele-conference • ประเมินการสอนเป็นระยะ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่เจ้าของบทเรียน

More Related