160 likes | 373 Views
การคาดประมาณ ผู้มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ผ่านการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างชายกับชาย (MSM). ระดับประเทศ /AIDS Epidemic Model คณะทำงานคาดประมาณ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. วิธีการและแหล่งข้อมูล. วิธีการ : Triangulation
E N D
การคาดประมาณผู้มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีผ่านการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างชายกับชาย(MSM)การคาดประมาณผู้มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีผ่านการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างชายกับชาย(MSM) ระดับประเทศ/AIDS Epidemic Model คณะทำงานคาดประมาณ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการและแหล่งข้อมูลวิธีการและแหล่งข้อมูล วิธีการ: Triangulation สังเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยาและประชากร แหล่งข้อมูล: 1. สัดส่วนชายที่มีพฤติกรรม MSM • การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ กลุ่มนักเรียนชาย ทหารรับใหม่กองประจำการ และพนักงานชาย (โรงงาน) • ข้อมูลการสำรว Household survey 2. ข้อมูลสัดส่วนประชากรชาย อายุ 15-49 ปี
ผลการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อฯ สัดส่วนผู้มีประวัติพฤติกรรม MSM ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
การคาดประมาณสัดส่วนชายที่มีพฤติกรรม MSM Percent of males age 15-49 engaging in higher risk same-sex behavior K-Factor value used 3% % Household survey ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
คาดประมาณจำนวนผู้มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อผ่านการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างชายกับชาย (MSM) * National Economic and Social Development Board pop of NESDB : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
การคาดประมาณในระดับจังหวัด ตัวอย่างการหาค่า K-factor จังหวัดสงขลา K-Factor value used 2.27% ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
การคาดประมาณในระดับจังหวัด เขตกรุงเทพมหานคร – Population Estimates K-Factor value used 3% ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
การคาดประมาณในระดับจังหวัด เขตกรุงเทพมหานคร – Mapping and Enumeration ที่มา: สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
เขตกรุงเทพมหานคร – Mapping and Enumerationจำนวนสถานบริการ
แผนที่แสดงแหล่งรวมตัวของกลุ่มเป้าหมายแผนที่แสดงแหล่งรวมตัวของกลุ่มเป้าหมาย ที่มา: สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
แผนที่แสดงแหล่งรวมตัวของกลุ่มเป้าหมายแผนที่แสดงแหล่งรวมตัวของกลุ่มเป้าหมาย ที่มา: สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
ผลการสำรวจ • พื้นที่ 8 เขต จาก 50 เขต ของกรุงเทพมหานคร • จำนวนสถานบริการ / จุดรวมตัว 141 แห่ง • จำนวนคาดประมาณผู้มีเพศสัมพันธ์กับชายด้วยกัน • ทั้งหมด 11,171 คน • MSM 9,168 คน • MSW 1,272 คน • TG 525 คน • TG–SW 206 คน • จำนวนสูงสุดในเขนบางรัก คือ 3,398 คน รองลงมาคือเขตห้อวยขวาง จำนวน 2,082 คน ที่มา: สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
ข้อจำกัดและแนวทางการพัฒนา - 1 • Representativeness IBBS/BSS: BoE + Surveillance networks • การใช้ประโยชน์ระดับประเทศ: คัดเลือก sentinel sites ที่ใช้ติดตาม trend สถานการณ์ overtime โดยพิจารณาจังหวัดตาม pattern ของการระบาด (MSM, TG and MSW) • จังหวัดท่องเที่ยวขนาดใหญ่ (MSM, TG and MSW) • จังหวัดขนาดเล็กที่ pattern ของการระบาดเพิ่งเริ่ม (MSM ในสถานศึกษา เป็นต้น)โดยให้สามารถปรับขยายการดำเนินได้ โดยพิจารณาข้อมูลอื่นๆ • การใช้ประโยชน์ในระดับจังหวัด • เฉพาะจังหวัดที่ดำเนินงาน BSS/IBBS ได้ใช้ประโยชน์ • จังหวัดอื่นใช้ประโยชน์ได้ในระดับหนึ่ง หรือใช้ติดตามสถานการณ์ได้ แต่ต้องมีข้อมูลอื่นประกอบ เช่น Hot spot โดยใช้ข้อมูลอื่นๆ เช่น program based data มาประกอบ
ข้อจำกัดและแนวทางการพัฒนา - 2 • Validation • Explore program based data ที่มีอยู่ เพื่อพิจารณาแนวทางการใช้ข้อมูลเพื่อเทียบเคียงและตัดสินใจการใช้ค่าผลการคาดประมาณ • Multiplication method for size estimation โดยใช้ NAP: HIV counseling and testing+ IBBS • MSM เข้าถึงระบบ HCT services • Coverage of HCT ที่ได้จากระบบ IBBS
ข้อจำกัดและแนวทางการพัฒนา - 3 • Reliability • IBBS/BSS ความแม่นยำถูกต้องของการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล • ใช้กระบวนการวิเคราะห์จากข้อมูลที่มีเพื่อคัดเลือกข้อคำถามที่มีความไวในการนำมาใช้ในการคาดประมาณ • พิจารณา consistency โดยระมัดระวังเรื่องการเปลี่ยนข้อคำถาม