1 / 53

บทที่ 3 (2) ความเท่าเทียมของภาษีกรณีศึกษาภาระแท้จริงของภาษี : Tax Incidence

บทที่ 3 (2) ความเท่าเทียมของภาษีกรณีศึกษาภาระแท้จริงของภาษี : Tax Incidence. ส่วนขยายการวิเคราะห์ของภาระภาษี. การศึกษาภาระภาษีส่วนเพิ่มเติม ได้แก่ : ภาษีที่เป็น Ad Valorem ภาษีที่จัดเก็บจาก Factors of production ภาษีในกรณี Imperfectly competitive markets

gavril
Download Presentation

บทที่ 3 (2) ความเท่าเทียมของภาษีกรณีศึกษาภาระแท้จริงของภาษี : Tax Incidence

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3 (2)ความเท่าเทียมของภาษีกรณีศึกษาภาระแท้จริงของภาษี: Tax Incidence

  2. ส่วนขยายการวิเคราะห์ของภาระภาษีส่วนขยายการวิเคราะห์ของภาระภาษี • การศึกษาภาระภาษีส่วนเพิ่มเติม ได้แก่: • ภาษีที่เป็น Ad Valorem • ภาษีที่จัดเก็บจาก Factors of production • ภาษีในกรณี Imperfectly competitive markets • ภาระภาษีกรณีดุลยภาพทั่วไป General Equilibrium Analysis

  3. ภาษีที่เป็น Ad Valorem • คือภาษีที่มีการเก็บเป็นสัดส่วนกับระดับราคา ตัวอย่าง • ภาษีมูลค่าเพิ่ม ร้อยละ 7 • ภาษีสรรพสามิตต่างๆ ที่จัดเก็บเป็นร้อยละของมูลค่า • ฯลฯ • การวิเคราะห์เหมือนกับกรณีภาษีต่อหน่วย (Unit Tax)

  4. ภาษีที่เป็น Ad Valorem กับผู้บริโภค การเก็บภาษีแบบ Ad Valorem ทำให้ราคาสินค้า ที่สูงจะถูกเก็บภาษีสูงกว่าสินค้าที่ราคาถูก ราคาสินค้า S1 Tax B 30 A 25 20 C D1 D2 Q2 Q1 ปริมาณ 4

  5. ภาษีที่เป็น Ad Valorem กับผู้ผลิต S2 ราคาสินค้า S1 Tax B 30 A 25 C 20 D1 ปริมาณ Q2 Q1

  6. Tax incidence in factor markets • ภาษีที่จัดเก็บจากปัจจัยการผลิตเช่น แรงงาน • กรณีตัวอย่างที่เก็บจากแรงงาน

  7. ภาษีเก็บจากแรงงาน ตัวอย่าง เก็บภาษีกับแรงงาน “suppliers” of labor ทำให้ค่าจ้างแท้จริงลดลง แรงงานจึงเรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น ค้าจ้าง(W) S2 S1 Tax B W2=300 ภาระของ ธุรกิจ A W1=250 ภาระของ แรงงาน C W3=200 D1 ชั่วโมงทำงาน ของแรงงาน(H) H2 H1

  8. Tax incidence in factor markets • การเก็บภาษี 50 บาทต่อ ชั่วโมงทำงาน ทำให้ผลตอบแทนจากการทำงานลดลง ณ ทุกๆ ระดับของการจ้างงาน • ดังนั้นแรงงานทั่วไปจะเรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้นในจำนวนที่เท่ากัน ทำให้เส้น supply curve shifts ขึ้น (ปริมาณ supply ลดลง) • ขณะที่ labor demand คงที่ค่าจ้างที่ดุลยภาพใหม่คือ 300 บาทกรณีนี้ทั้งผู้จ้างและแรงงานรับภาระภาษีเท่าๆ กัน

  9. Tax incidence in factor markets • ต่อไปนี้พิจารณากรณีที่มีภาษีกับ firms (หรือที่เป็นภาษีเก็บจาก demand of labor)

  10. ภาษีกับผู้จ้างงาน *demand for labor ตัวอย่าง ภาษีกับผู้จ้างงานหรือธุรกิจ “demanders” of labor ทำให้ค่าจ้างลดลง ค่าจ้าง(W) S1 B W2=300 Firm burden A W1=250 Worker burden C W3=200 Tax D1 D2 ชั่วโมงทำงาน ของแรงงาน(H) H2 H1

  11. ภาระภาษีในกรณีเก็บจากตลาดปัจจัยการผลิต (factor market) • เมื่อเก็บภาษีกับผู้จ้างงานหรือ firm เส้น demand curve shifts เป็น D2และค่าจ้างของตลาดลดลงเป็น 200 บาท • โดยนายจ้างจะลดค่าจ้างลง 50 บาท น้อยกว่าค่าจ้างที่ดุลยภาพเดิมแต่ต้องส่งภาษีให้รัฐบาลเท่ากับ 1 บาทสุดท้ายนายจ้างจะจ่ายค่าจ้างที่ 300 บาท • เหมือนกับกรณีเก็บภาษีจากตลาดผลผลิตภาระภาษีจากเงินได้ payroll tax แสดงให้เห็นถึงการที่ไม่มีความแตกต่างระหว่างการเก็บภาษีไม่ว่าจะเป็นด้านไหนแต่ภาระภาษีจะแตกจากภาระตามการจ่ายตามกฎหมาย (statutory incidence)

  12. ภาระภาษีในกรณีเก็บจากตลาดปัจจัยการผลิต (factor market) • การวิเคราะห์ภารภาษีในตลาดปัจจัยการผลิตมีข้อจำกัดที่แตกต่างจากตลาดสินค้า คือหากมีการจำกัดการให้ค่าจ้างปรับตัวไม่ได้ หรือมีค่าจ้างขั้นต่ำ ผลการวิเคราะห์จะแตกต่างจากกรณีทั่วไป • ค่าจ้างขั้นต่ำที่ถือเป็นรายได้ต่อเวลาทำงานที่กำหนดไว้ตามกฎหมายจ้างงาน ที่ทำให้นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในกฎหมาย

  13. ภาระภาษีในกรณีเก็บจากตลาดปัจจัยการผลิต (factor market) • เมื่อมีค่าจ้างขั้นต่ำ ภาระภาษีจะแตกต่างออกไป โดยดูได้จากรูป ที่มีการกำหนดภาษีกับลูกจ้าง

  14. เก็บภาษีกับลูกจ้าง ค่าจ้าง(W) S2 When imposed on employees, the analysis is similar to before. A binding minimum wage changes the analysis, however. S1 Tax B W2= 300 Firm burden A Wm=250 Worker burden W3=200 C D1 ชั่วโมงทำงาน(H) H2 H1

  15. ภาระภาษีในกรณีเก็บจากตลาดปัจจัยการผลิต (factor market) • เมื่อมีการเก็บภาษีกับลูกจ้าง labor supply curve จะเคลื่อนแบบ shifts ขึ้นเพราะในแต่ละระดับการทำงานลูกจ้างจะต้องการค่าจ้างที่สูงขึ้นเพื่อชดเชยภาษีที่ถูกจัดเก็บ เส้น labor supply จึง shift ขึ้น • แรงงานสามารถรับค่าจ้างที่ 300 บาท แต่ถูกบังคับต้องจ่ายภาษีให้รัฐบาลจำนวน 100 บาท • ภาระภาษีที่เกิดขึ้นจะเหมือนกรณีทั่วไป เพราะกรณีนี้ยังไม่มีค่าจ้างขั้นต่ำ

  16. ภาระภาษีในกรณีเก็บจากตลาดปัจจัยการผลิต (factor market) • กรณีเก็บภาษีกับภาคธุรกิจ (firm)

  17. ภาษีเก็บจากผู้ผลิต ค่าจ้าง(W) ผู้ผลิตรับภาระภาษี เมื่อเก็บภาษีกับนายจ้าง ภาระภาษีจะแตกต่างออกไป นายจ้างไม่สามารถผลักภาระได้ทั้งหมด เพราะมีการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ เพราะมีค่าจ้างขั้นต่ำดุลยภาพใหม่อยู่ที่C’. S1 B W2=300 ภาระภาษีที่ผลักเต็มที่จะอยู่ที่C Firm burden A C’ Wm=250 200 C Tax D1 D2 ชั่วโมงทำงานของแรงงาน (H) H3 H2 H1

  18. ภาระภาษีในกรณีเก็บจากตลาดปัจจัยการผลิต (factor market) • เมื่อเก็บภาษีกับผู้ผลิต (firms) เส้น labor demand จะshifts downward เมื่อไม่ข้อจำกัดของค่าจ้าง ค่าจ้างในตลาดจะลดลงจาก 250 เป็น 200 และผู้ผลิตยังต้องจ่ายภาษีอีก 50 บาท ชั่วโมงทำงานลดเหลือ H2 • เมื่อมีการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ ทำให้ค่าจ้างไม่อาจปรับลดลงได้ ดังนั้นผู้ผลิตจะมีความต้องการจ้างงานที่ H3<H2โดยจ้างค่าจ้างที่ 250 บาท และจ่ายภาษี 50 บาทให้แก่รัฐบาล • ดังนั้น economic burden ของภาษีจะต้องกับผู้ผลิตทั้งหมด

  19. ภาระภาษีในกรณีเก็บจากตลาดปัจจัยการผลิต (factor market) • เมื่อมีเงื่อนไขจำกัดในการทำให้ตลาดปัจจัยเป็นตลาดแข่งขัน ทำให้ปัจจัยอื่นๆ สามารถมีอิทธิพลต่อการผลักภาระภาษี เพราะทำให้การปรับตัวของค่าจ้างไม่เป็นไปตามกลไกตลาด อาทิเช่น: • ค่าจ้างขั้นต่ำ • ค่านิยมการทำงานของสถานที่ทำงาน Workplace norms • กฎ ระเบียบของสหภาพ ที่บังคับสมาชิก เช่น ชั่วโมงทำงาน สวัสดิการ ฯลฯ

  20. ภาระภาษีในกรณีเก็บจากตลาดปัจจัยการผลิต (factor market) • กรณีตลาดไม่เป็นแข่งขันสมบูรณ์ • Monopoly markets • ผู้ผูกขาด Monopolists เป็น price makers ไม่ใช่ price takers

  21. ตลาด Monopolist Monopolist กำหนดการผลิตที่ MR=MC, คือที่Q1. P A’ P1 S ขนาดกำไรส่วนเกิน D1 A P* MR1 Q1 Q

  22. ภาระภาษีภายใต้ตลาดแบบแข่งขันไม่สมบูรณ์ imperfectly competitive markets • กรณีนี้ผู้ผูกขาดมีอำนาจกำหนดราคา และมี เส้น MR ที่slope ลดลง (Slope เป็นลบ) เพราะผู้ผูกขาดจะต้องลดราคากับสินค้าทุกๆ หน่วยเพื่อขายสินค้าเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งหน่วย • เพราะ เส้นMR1 เส้น demand เสมอ • ภายใต้เงื่อนไขกำไรสูงสุดMR1=MCทำให้ได้ปริมาณที่Q1คือจุดที่ได้กำไรสูงสุด

  23. Tax on consumers ในตลาดผูกขาด การเก็บภาษีทำให้เส้น MR และเส้น demand shift ลงมาทั้งคู่พร้อมกัน P P1 S S B’ P2 D1 A B D2 MR1 MR2 Q2 Q1 Q

  24. ภาระภาษีในตลาด imperfectly competitive markets • กรณีเก็บภาษีกับผู้บริโภค • shifts เส้น demand curve เป็น D2และ MR เป็น MR2. • เงื่อนไข MR2=MC, ปริมาณเป็นที่ Q2ซึ่งได้กำไรสูงสุด • ราคาของผู้ผูกขาดเปลี่ยนจาก P1เป็น P2, ผู้ผูกขาดยังต้องแบกรับภาระภาษีบางส่วน • กฎ 3 ข้อของการผลักภาระภาษียังคงใช้ได้กับกรณีตลาดผูกขาด

  25. Tax on consumers ในตลาดผูกขาดกรณีภาษี Ad Valorem P P1 S S P2 D1 D2 MR1 MR2 Q2 Q1 Q 25

  26. ภาระภาษีในตลาด imperfectly competitive markets • ในความเป็นจริงโครงตลาดส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง perfect competition and monopoly. • ตลาดผู้ขายน้อยราย Oligopoly markets • ยังไม่อาจหาข้อสรุปได้ว่าผลเป็นอย่างไร แต่เชื่อว่าน่ามีการผลักภาระภาษีในตลาดนี้ด้วยเช่นเดียวกัน • เหตุที่ยังไม่ข้อสรุป เพราะในตลาดผู้ขายน้อยรายไม่รู้วิธีการกำหนดราคา เนื่องจากต้องมี interaction ระหว่างผู้ขายแต่ละราย • อาจคาดการณ์ได้ตามสภาพตลาด เช่นการมี cartel ที่มีฮั้วกัน หรือร่วมมือกันระหว่างผู้ขายเพื่อหากำไรสูงสุดจากตลาด ตัวอย่าง OPEC

  27. ภาระภาษีในตลาด imperfectly competitive markets • กรณีตลาดแบบ Oligopoly • การมี cartel แม้ว่าสามารถตกลงกันได้ระหว่างผู้ขายทั้งหมด แต่การรักษาสัญญาร่วมกันทำยาก เพราะเมื่อราคาสินค้าสูงขึ้น ทำให้เกิดแรงจูงใจให้ผู้ขายแต่ละรายทำผิดสัญญา โดยเพิ่มผลผลิตของตนเองเกินกว่าที่กำหนด จึงมักมีจำนวนผลผลิตภายใต้ระบบ cartel มากกว่าที่กำหนดในการทำสัญญาที่ตกลง • เมื่อมีการเก็บภาษีจากระบบ ผู้ขายจะต้องลดปริมาณการผลิตของตนลง เพราะต้องจ่ายภาษี กำไรจึงลดลง แต่เนื่องจากมีสัญญาในการผลิต จากการที่ข้อตกลงร่วมกัน การเก็บภาษีจึงอาจไม่ทำให้ผู้ขายแย่ลง เพราะรักษาขนาดกำไรได้ตามจำนวนที่ตกลงไว้ก่อน

  28. ภาระภาษีกรณีเก็บจากกำไร (Profit Tax) • ที่ผ่านวิเคราะห์ภาษีจากการขาย หากพิจารณาภาษีจากกำไรของกิจการ โดยเฉพาะกรณี economic profit ซึ่งเป็นกำไรที่เกินกว่าต้นทุนเสียโอกาสของปัจจัยการผลิต หรืออาจเรียกว่า กำไรส่วนเกิน (excess profit) • ภายใต้ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MC = MR การเก็บภาษีแบบสัดส่วน ไม่มีแรงจูงใจที่ทำให้ MC และ MR เปลี่ยนแปลงไป จึงไม่เปลี่ยนระดับผลผลิต ผู้ผลิตจึงยอมรับภาระภาษีทั้งหมด

  29. ภาระภาษีและการตีมูลค่า (capitalization) • สมมุติทรัพย์สิน เช่นที่ดิน สามารถให้ผลตอบแทน (ค่าเช่า)เท่ากับ R ในแต่ละปี หากมีผู้ต้องการซื้อที่ดินนี้ราคาที่จะซื้อควรเท่ากับมูลค่ารวมของผลตอบแทนที่ได้จากที่ดิน • ดังนั้น

  30. ภาระภาษีและการตีมูลค่า (capitalization) • เมื่อมีการเก็บภาษี = uในแต่ละปี • ราคาของทรัพย์สินจะเปลี่ยนเป็น • ราคาของทรัพย์สินจะสูญหายไปจากภาษีเท่ากับ

  31. การวิเคราะห์ภาระภาษีกรณี GENERAL EQUILIBRIUM • ที่ผ่านมาเป็นการวิเคราะห์ภายใต้ partial equilibrium. • Partial equilibrium tax incidenceเป็นการวิเคราะห์ในตลาดใดตลาดหนึ่งเท่านั้น • ความเป็นจริงผลของภาษีจะถูกกระจายไปยังตลาดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้ต้องใช้การวิเคราะห์แบบ general equilibrium analysis.

  32. ตัวอย่างการวิเคราะห์ภาระภาษีแบบ GE analysis กรณีเก็บภาษีจากผู้ผลิต • สมมุติเก็บภาษีจากผู้ขายที่มีเส้น demand ที่มีความยืดหยุ่นสูง (elastic)

  33. Figure 10 ราคาอาหาร(P) S2 S1 demand สำหรับอาหารเป็น perfectly elastic. $1 B A D P1 = 20 จำนวนอาหารขายต่อวัน(Q) Q2 = 950 Q1 = 1000

  34. ตัวอย่างการวิเคราะห์ภาระภาษีแบบ GE analysis กรณีเก็บภาษีจากผู้ผลิต ณ พื้นที่หนึ่ง • การเก็บภาษีเพิ่มขึ้นในกรณีนี้ผู้บริโภคมีทางเลือกสูง ทำให้ผู้ผลิตต้องรับภาระภาษีทั้งหมด เส้น Supply จึง shift ไปทางซ้าย • ในความเป็นจริงผู้ผลิตต้องมีการใช้ปัจจัยการผลิตทั้งที่เป็นทุน และแรงงานประกอบกันในการทำธุรกิจ

  35. ตัวอย่างการวิเคราะห์ภาระภาษีแบบ GE analysis กรณีเก็บภาษีจากผู้ผลิต • การจัดเก็บภาษีกับผู้ผลิตที่ไม่อาจผลักภาระไปให้แก่ผู้บริโภค ทำให้เปรียบเสมือนเป็นการผลักภาระให้แก่ปัจจัยการผลิต (labor and capital) • ทำให้ต้องหันไปดูตลาดปัจจัยการผลิต • ข้อสมมุติ • ตลาดแรงงานมี supply ที่มีความยืดหยุ่นสูง เพราะสามารถหางานที่อื่นๆ ได้ง่าย • ตลาดทุนในระยะสั้น supply ของทุนมีความเป็น inelastic เพราะไม่สามารถหาที่ปล่อยกู้ได้ง่าย

  36. Figure 11 ภาระภาษีทำให้ “shifted backward” ไปให้แก่ แรงงานและทุน (a) Labor (b) Capital ปัจจัยทุนเป็น inelastic อัตราผลตอบแทน (r) ค่าจ้าง(W) S สมมุติให้แรงงานมีลักษณะperfectly elastic. ปัจจัยทุนรับภาระภาษี แรงงานจึงไม่รับภาระภาษี A B A r1 = 10% W1 = 8 S B r2=8% D1 D2 D2 D1 ชั่วโมงทำงาน(H) การลงทุน(I) H2 = 900 H1 = 1,000 I1 = 50

  37. ตัวอย่างการวิเคราะห์ภาระภาษีแบบ GE analysis กรณีเก็บภาษีจากผู้ผลิต • การเก็บภาษีกับผลผลิตในตลาดสินค้าที่มี demand แบบ elastic ทำให้ผู้ผลิตต้องผลักภาระไปข้างหลัง โดยการลดการจ้างงานและการใช้ปัจจัยทุน • แต่เพราะในตลาดแรงงานที่มี supply of labor แบบ elastic ที่แรงงานสามารถเคลื่อนออกได้ง่าย ผู้ผลิตเองจึงต้องลดจำนวนการจ้างงานลง แต่ไม่อาจลดอัตราค่าจ้างได้ • ดังนั้นแรงงานไม่รับภาระภาษีใดๆ • ขณะเดียวกัน ในตลาดปัจจัยทุนที่อยู่ในระยะสั้นทำให้ supply ของทุนมีจำกัด หรืออยู่คงที่ เมื่อความต้องการใช้ทุนลดลง ทำให้ เจ้าของปัจจัยทุนต้องลดอัตราผลตอบแทนของทุนที่เรียกร้องจากผู้ผลิต • ในระยะสั้นที่ทุนมีจำกัด เจ้าของทุนต้องรับผลจากการเก็บภาษีกับผู้ผลิต ทำให้ต้องรับถาระภาษีทั้งหมด

  38. ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการวิเคราะห์ GE incidence analysis • ในระยะยาว supply of capital จะไม่เป็น inelastic. • ผู้ผลิตอาจปิดกิจการและไปลงทุนอย่างอื่นแทนที่ไม่ถูกเก็บภาษี • ในระยะยาวแล้ว ปัจจัยทุนอาจเป็น perfectly elastic เพราะมีสินทรัพย์ให้เลือกให้กู้แทนได้ จึงทำให้สามารถลดแรงกดดันที่ต้องรับภาระภาษีทั้งหมดแทนผู้ผลิต

  39. ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการวิเคราะห์ GE incidence analysis • ถ้าสมมุติในระยะยาว ทั้งแรงงานและปัจจัยทุนต่างเป็นใครจะเป็นผู้รับภาระภาษีที่แท้จริง? • อีกปัจจัยหนึ่งที่เกี่ยวข้องการผลิต คือที่ดิน ซึ่งมีลักษณะเป็นinelastic คือที่ดิน • คุณสมบัติ คือมีจำนวนจำกัดหรือคงที่ • ขณะที่แรงงานและปัจจัยทุนอาจหลีกเลี่ยงภาษีได้ วิธีเดียวที่ผู้ผลิตจะลดภาระภาษีของจนเองคือการลดอัตราค่าเช่าที่ดินลง

  40. ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการวิเคราะห์ GE incidence analysis • ขอบเขตของการเก็บภาษี ก็ยังมีผลต่อการกระจายของภาระภาษีด้วย เช่นหากการเก็บภาษีเป็นการเก็บจากทั้งอุตสาหกรรม แทนการเก็บจากพื้นที่หนึ่งๆ • ผลคือ Demand ในตลาดผลผลิตไม่มีทางเลือก เพราะไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนการบริโภคสินค้านั้น ต้องจ่ายภาษีเหมือนกันทำให้เส้น demand มีความไม่ยืดหยุ่นมากขึ้นหรือ inelastic ผู้บริโภคจึงต้องรับภาระของภาษีบางส่วน • หาก Labor supply มีความไม่ยืดหยุ่นด้วย จึงต้องรับภาระภาษีด้วยเช่นกัน • ขอบเขตการเก็บภาษีเข้ามามีบาบาทต่อการผลักภาระภาษี เพราะมีผลต่อค่าความยืดหยุ่น elasticitiesที่ทำให้ผลการวิเคราะห์เปลี่ยนไปกล่าวคือการเก็บภาษีที่มีฐานภาษีขอบเขตกว้างขวาง ทำให้หลีกเลี่ยงภาษียากกว่าภาษีที่มีฐานแคบ ทำให้จำนวนผู้ผลิตหรือผู้บริโภคที่อยู่ในข่ายเสียภาษีมีจำนวนแคบลง จึงต้องรับภาระภาษีมากขึ้น เพราะมีความไม่ยืดหยุ่นมากขึ้น inelastic

  41. ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการวิเคราะห์ GE incidence analysis • การวิเคราะห์ GE analysis อาจส่งผลต่อสินค้าในตลาดอื่นๆ ด้วย ไม่จำกัดเพียงในตลาดปัจจัยการผลิตของสินค้านั้นๆ เท่านั้น • การเก็บภาษีที่ทำให้ราคาสินค้าเพิ่มขึ้นนั้น ทำให้: • เกิดผลด้าน effect กับผู้บริโภค • เกิดการทดแทนการบริโภคระหว่างสินค้าขึ้น • เกิดการลดการบริโภคสินค้าที่ใช้ร่วมกับสินค้าที่ถูกเก็บภาษี

  42. ความสัมพันธ์ของประเภทภาษีภายใต้การวิเคราะห์ GE • สมมุติเป็นตลาดที่มี 2 สินค้า และ 2 ปัจจัยการผลิต • สินค้า K และ F • ปัจจัยการผลิต L และ K

  43. ความสัมพันธ์ของประเภทภาษีภายใต้การวิเคราะห์ GE • tkf = ภาษีเก็บจากทุนที่ใช้ในการผลิตสินค้า F • tkm= ภาษีเก็บจากทุนที่ใช้ในการผลิตสินค้า M • tLf = ภาษีเก็บจากแรงงานที่ใช้ในการผลิตสินค้า F • tLM= ภาษีเก็บจากแรงงานที่ใช้ในการผลิตสินค้า M • tf= ภาษีเก็บจากสินค้า F • tm = ภาษีเก็บจากสินค้า M • tk= ภาษีเก็บจากปัจจัยการผลิต k • tL= ภาษีเก็บจากปัจจัยการผลิต L • t = ภาษีเก็บจากรายได้

  44. ความสัมพันธ์ของประเภทภาษีภายใต้การวิเคราะห์ GE tkfและ tLFเปรียบเหมือน tf และ และ tKMและ tLM เปรียบเหมือน tM เปรียบเหมือน เปรียบเหมือน tKtLเปรียบเหมือน t

  45. แบบจำลอง Harberger Model • คิดค้นโดยนักเศรษฐศาสตร์ชื่อ Arnold Harberger (1974) โดยมีข้อสมมุติฐานคือ • เทคโนโลยีการผลิตใน L และ K ในการผลิตที่มี constant return to scale หากต้องการผลิตสินค้าที่เพิ่มขึ้นต้องใส่ปัจจัยการผลิตเข้าไปในสัดส่วนเดียวกัน • ผู้ผลิตมีเทคนิคการผลิตที่แตกต่างกัน หรือมี intensity ของการใช้ L และ K ที่ต่างกันได้ แต่สามารถใช้ L และ K ทดแทนกันได้ ทั้งนี้ขึ้นกับความสามารถในการทดแทนระหว่างปัจจัยการผลิตทั้งสอง หรือ Elasticity of substitution • เจ้าของปัจจัยการผลิต สามารุเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตของตนเองได้เสรี หรือมี transaction cost เท่ากับศูนย์ และมีพฤติกรรมที่มุ่งหาผลตอบแทนสูงสุด ซึ่งที่สุด MPLและ MPK ที่อยู่ทั้งสองอุตสาหกรรมจะต้องเท่ากัน เพราะจะไม่การเคลื่อนย้ายอีก

  46. แบบจำลอง Harberger Model • กำหนดให้โครงสร้างตลาด เป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ที่มีข้อมูลข่าวสารสมบูรณ์ ทั้งราคาสินค้า และผลตอบแทนแก่ปัจจัยการผลิต ทุกๆ ฝ่ายพยายามให้ได้ กำไรหรือผลตอบแทนสูงสุดเสมอ • มีจำนวนปัจจัยการผลิตที่คงที่ หรือ Lf + Lm = L Kf + Km = K • ผู้บริโภคมีรสนิยมที่เหมือนกันหมด ไม่มีความแตกต่างของการกระจายรายได้ • กรอบการศึกษาพิจารณาภาระภาษี จะทำโดยการทดแทนภาษีหนึ่งด้วยภาษีอีกชนิดหนึ่ง เพื่อเป็นการขจัดปัญหาผลของการเพิ่มของรายได้ที่มีต่อความต้องการสินค้าและราคาปัจจัยการผลิต

  47. กรณีภาษีการบริโภคสินค้า (tf ) • เมื่อมีการเก็บภาษีกับสินค้าใดสินค้าหนึ่ง ทำให้ราคาเปรียบเทียบของสินค้านั้นเพิ่มขึ้นตามขนาดของภาษี กรณีนี้คือสินค้า อาหาร (f) • ผู้บริโภคจึงทดแทน อาหาร (f) ด้วยสินค้าอุตสาหกรรม (m) • จึงผลิต f ลดลง และ m เพิ่มขึ้น ทำให้การใช้ปัจจัยการผลิตใน f ลดลง แต่ใน m เพิ่มขึ้นด้วย • แต่เพราะความเข้มข้นของการใช้ปัจจัยการผลิตไม่เท่ากัน หาก f เป็น labor intensive ขณะที่ m เป็น capital intensive • ผลการเก็บภาษีทำให้มีแรงงานว่างงานจากการผลิต f ลดลงมาก เพื่อให้แรงงานถูกดูดซับในการผลิตของ m ได้นั้น แรงงานที่ไหลออกจาก f ต้องลดการเรียกร้องค่าจ้างลงมาก รวมทั้งแรงงานที่อยู่ใน m ด้วย

  48. กรณีภาษีการบริโภคสินค้า (tf ) • ดังนั้นแรงงานทั้งหมดของระบบเศรษฐกิจนี้จึงต้องรับภาระของภาษีสินค้า f ที่ถูกจัดเก็บ • ประเด็นการพิจารณาเพิ่มเติม • Elasticity ระหว่างสินค้า f และ m • Intensity ของการใช้ปัจจัยการผลิตระหว่างผู้ผลิต แตกต่างกันมากน้อยอย่างไร • Elasticity of substitution ระหว่างปัจจัยการผลิตเป็นอย่างไร • จากกรณีตัวอย่างที่เก็บภาษีสินค้า f ผู้ที่มีเงินได้จากแรงงาน ทั้งใน f และ m จะเป็นผู้ที่รับภาระมากที่สุด และ • ผู้บริโภคสินค้า f ก็จะต้องรับภาระด้วยเช่นเดียวกัน

  49. กรณีภาษีเงินได้ (t) • เหมือนการเก็บภาษีกับปัจจัยการผลิตทั้งสองชนิดพร้อมกัน • ผลลัพธ์ คือทุกๆ ส่วนที่อยู่ในการผลิตจะรับภาระเท่าๆ กัน ไม่อาจผลักภาระให้คนอื่นๆ ได้ ขนาดภาระภาษีอยู่ในสัดส่วนเดียวกัน เพราะถูกกำหนดให้จำนวนปัจจัยการผลิตคงที่

  50. กรณีภาษีปัจจัยการผลิต (tl ) • แรงงานในทุกๆ ส่วนร่วมกันรับภาระภาษี เพราะจัดเก็บจากแรงงานเท่านั้นไม่ว่าอยู่ในการผลิต f หรือ m

More Related