1 / 21

กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ กระทรวงการต่างประเทศ UNIDO Bangkok, Thailand

เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industrial Town) Seminar Gearing toward Eco-Industrial Town : Thailand ’ s Direction and Experiences from Japan and Other Countries 30 March 2011. กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ กระทรวงการต่างประเทศ UNIDO Bangkok, Thailand.

etta
Download Presentation

กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ กระทรวงการต่างประเทศ UNIDO Bangkok, Thailand

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ(Eco-Industrial Town)SeminarGearing toward Eco-Industrial Town :Thailand’s Direction andExperiences from Japan and Other Countries30 March 2011 กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ กระทรวงการต่างประเทศ UNIDO Bangkok, Thailand

  2. นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมนายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ ชุมชนวางใจ อุตสาหกรรมโปร่งใส ก้าวไปพร้อมๆ กัน To be Trusted and Transparent Industry

  3. นโยบายกระทรวงอุตสาหกรรมนโยบายกระทรวงอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ ที่ 4 ของกระทรวงอุตสาหกรรม “การส่งเสริมอุตสาหกรรมที่รับผิดชอบต่อสังคม บริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล”

  4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(ฉบับที่ 11)National Economic and Social Development Plan(v.11) กำหนดแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไปสู่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยให้ คณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งชาติ ดำเนินงานในภาพรวม และให้มีคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ในระดับพื้นที่ (แผนเริ่มใช้ ตุลาคม 2554)

  5. อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industry) • การพัฒนาอุตสาหกรรมโดยสร้างความสมดุลทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม ทำให้อุตสาหกรรมอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างเป็นสุขและยั่งยืน

  6. เป้าหมายของการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเป้าหมายของการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ การอยู่ร่วมกันด้วยความสมดุลของการพัฒนา บนฐานของความยั่งยืน Sustainable Development of Industry together with Community

  7. องค์ประกอบในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศองค์ประกอบในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ • การพัฒนาเชิงพื้นที่ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดหรือไม่มีการปล่อยมลพิษ (Zero Emission) ใช้ Cleaner Technology และ 3R • มีความร่วมมือในกลุ่มอุตสาหกรรมทั้งในและนอกพื้นที่ (ใช้ทรัพยากรร่วมกัน ประหยัดการใช้พลังงาน แลกเปลี่ยนของเสีย ฯ ) • สร้างพื้นที่ของการใช้วัสดุหมุนเวียน (Material-cycling Society) และพื้นที่ลดการปล่อยก๊าซที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน (Low carbon Society) • การสร้างเครือข่ายความร่วมมือโดยชุมชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและพัฒนาพื้นที่

  8. แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในประเทศไทยแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในประเทศไทย

  9. การพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศใน 5 มิติ 21 ด้าน 1. การวางผังที่ตั้งและการจัดพื้นที่ 6. การตลาด 11. การจัดการพลังงาน 17. คุณภาพชีวิตและสังคมของพนักงาน 7. การขนส่ง 12. การจัดการเสียง 18. คุณภาพชีวิตและสังคมของชุมชนโดยรอบ 2. การออกแบบอาคาร และบริเวณโดยรอบ 8. การจัดการคุณภาพน้ำ 3. เศรษฐกิจอุตสาหกรรม 13. กระบวนการผลิต 19. การบริหารจัดการพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม 9. การจัดการคุณภาพอากาศ 4. เศรษฐกิจท้องถิ่น 14. ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ 20. การพัฒนาและรักษาระบบบริหารระดับสากล 10. การจัดการกากของเสียและวัสดุเหลือใช้ 5. เศรษฐกิจชุมชน 15. การจัดการด้านความปลอดภัยและสุขภาพ 21. ข้อมูลข่าวสารและการรายงาน 16. การเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม

  10. ตัวชี้วัดอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industry Indicator) • เป้าหมาย : การอยู่ร่วมกันด้วยความสมดุลของการพัฒนาบนฐานของความยั่งยืน มิติกายภาพ : มีทำเลที่ตั้งสอดคล้องกับผังเมือง และมีการวางผังการใช้ประโยชน์พื้นที่กลมกลืนกับสิ่งแวดล้อม • มิติเศรษฐกิจ : • มีความคุ้มค่าในการผลิต และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น ผู้ประกอบกิจการ และชุมชนอย่างมั่นคง มิติสิ่งแวดล้อม : มีการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ลดและป้องกันมลพิษ ใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างคุ้มค่า มิติสังคม : พนักงานในพื้นที่และชุมชนโดยรอบมีคุณภาพชีวิต และสังคมที่น่าอยู่ มิติการบริหารจัดการ : การบริหารจัดการในพื้นที่อย่างเป็นระบบ โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3. เศรษฐกิจของภาคอุตสาหกรรม : ภาคการผลิตและบริการมีความคุ้มค่าและเจริญเติบโต 8. การจัดการคุณภาพน้ำ : 1. มีน้ำใช้เพียงพอ 2. การปล่อยน้ำทิ้งเป็นศูนย์ (Zero Discharge) 3. คุณภาพน้ำทิ้งไม่ส่งผลกระทบต่อชุมชน 9. การจัดการคุณภาพอากาศ : 1. คุณภาพอากาศไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน 2. อัตราส่วนการปลดปล่อยคาร์บอนต่อผลิตภัณฑ์ฯที่ลดลง 1. การวางผังที่ตั้งและการจัดพื้นที่ 1. ที่ตั้งของอุตสาหกรรมเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและการพัฒนาของเมือง 2. การใช้ประโยชน์พื้นที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 19. การบริหารจัดการพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม : การบริหารจัดการในพื้นที่เป็นไปอย่างมีระบบ โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย 17.คุณภาพชีวิตและสังคมของพนักงาน : พนักงานในพื้นที่มีศักยภาพคุณภาพชีวิตและสังคมที่ดี 4. เศรษฐกิจของท้องถิ่น : เศรษฐกิจท้องถิ่นมีการเจริญเติบโตอย่างมั่นคง 18. คุณภาพชีวิตและสังคมของชุมชนโดยรอบ : ชุมชนมีศักยภาพและน่าอยู่ 10. การจัดการกาก ของเสีย และวัสดุเหลือใช้ : ของเสียเป็นศูนย์ (Zero Waste) 11. การจัดการพลังงาน : 1. การใช้พลังงานในพื้นที่มีประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมการใช้พลังงานทางเลือก 20. การพัฒนาและรักษาระบบบริหารระดับสากล : มีการใช้ระบบบริหารระดับสากลอย่างต่อเนื่อง 5. เศรษฐกิจของชุมชน : เศรษฐกิจของชุมชนมีความเข้มแข็ง 12. การจัดการเสียง : ความดังของเสียงจากภาคการผลิตไม่รบกวนชุมชน 13. กระบวนการผลิต : ผู้ประกอบการมีการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 21. ข้อมูลข่าวสารและการรายงาน : มีข้อมูล ข่าวสารที่ถูกต้อง เหมาะสม เพื่อเผยแพร่ภายในพื้นที่ 2. การออกแบบอาคารและบริเวณ โดยรอบ : อาคารและบริเวณโดยรอบประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6. การตลาด : ผู้ประกอบการผลิตสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นที่ต้องการของตลาด 14. ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ : ประสิทธิภาพเชิงนิเวศของอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 15. การจัดการด้านความปลอดภัยและสุขภาพ : 1. อุตสาหกรรมมีความปลอดภัยไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพพนักงานและชุมชน 2. อุบัติเหตุร้ายแรงเป็นศูนย์ (Zero Accident) 7. การขนส่ง: ผู้ประกอบการมีการบริหารจัดการโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Logistics) 16. การเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม :มีระบบการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม

  11. โครงการเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในประเทศไทยEco Industrial Town Development in Thailand

  12. “ยุทธศาสตร์ส่งเสริมเมืองนิเวศ (Eco-Town)”มีเป้าหมายระยะสั้นและระยะยาว คือ การพัฒนาเมืองนิเวศ 2 แห่งและ 10 แห่ง ภายในปี 2555 และปี 2560 กิจกรรมหลัก : สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาชนผ่านกิจกรรม (1) การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อถ่ายทอดความรู้และสร้างความตระหนัก พร้อมเครือข่าย 5 จังหวัด 5 ภูมิภาค ได้แก่ ขอนแก่น ฉะเชิงเทรา อยุธยา เชียงใหม่ และสุราษฎร์ธานี (2) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยี 3 Rs และเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนของเสียหรือวัสดุเหลือใช้ระหว่างภาคอุตสาหกรรม และชุมชน (Waste Exchange) โครงการพัฒนาชุมชนส่งเสริมชุมชนอุตสาหกรรมพื้นฐานและอุตสาหกรรมเหมืองแร่สู่ความเป็นเมืองนิเวศ :กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.)

  13. “ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานในเชิงนิเวศเศรษฐกิจ”“ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานในเชิงนิเวศเศรษฐกิจ”  ปริมาณการปลดปล่อยของเสียลดลง คุณภาพสิ่งแวดล้อมดีขึ้น มีการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด มีศูนย์รวมการคัดแยกและรีไซเคิลของเสีย ลักษณะเด่น : การสร้างเครือข่ายความร่วมมือโดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากภาค รัฐ เอกชน และประชาชน ปัญหาอุปสรรค : ขาดความต่อเนื่องของโครงการเนื่องจากมีการปรับโครงการองค์กรใน กพร. และการเปลี่ยนผู้บริหารในพื้นที่ดำเนินการ และข้อจำกัดทางด้านกฎหมาย โครงการพัฒนาชุมชนส่งเสริมชุมชนอุตสาหกรรมพื้นฐานและอุตสาหกรรมเหมืองแร่สู่ความเป็นเมืองนิเวศ: กพร.

  14. วัตถุประสงค์ : ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและยกระดับความสำเร็จทางธุรกิจและสังคมของนิคมฯ โดยการพัฒนาตามหลักการ Eco-Industrial Estate และขยายขอบข่ายเป็น Eco-Industrial Network สู่เป้าหมายสูงสุดในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนของประเทศ การดำเนินงาน : แบ่งออกเป็น 4ด้าน 1. ด้านนโยบายสำหรับโครงการ : Policy support and strategic planer 2. ด้านการพัฒนาศักยภาพพนักงาน 3. การดำเนินโครงการนำร่องใน 5 นิคมอุตสาหกรรม 4. การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในแนวคิดใหม่ : โครงการนำร่องนิคมอุตสาหกรรมเมืองยางครบวงจร (Rubber City) โครงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเครือข่าย (Development of Eco Industrial Estate+NET) :การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(กนอ.)

  15. โครงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเครือข่าย (DEE+NET): กนอ. Northern Region I.E. นำร่อง 5 โครงการ Eastern Sea Board I.E. • นิคมฯ มาบตาพุด • นิคมฯ บางปู • นิคมฯ ภาคเหนือ • นิคมฯ อีสเทร์น ซีบอร์ด • นิคมฯ อมตะนคร Map Ta Phut I.E. Amata Nakorn I.E. Bang Poo I.E.

  16. โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) วัตถุประสงค์ พัฒนาพื้นที่นำร่องสู่ความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะเวลาดำเนินงาน พ.ศ.2553 – 2557 ( 5 ปี ) พื้นที่ดำเนินงาน : เขตประกอบการสวนอุตสาหกรรมโรจนะ ( Rojana Industrial Park ) อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • หน่วยงานร่วมดำเนินงาน : • ส่วนภูมิภาค : สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา • ส่วนท้องถิ่น : องค์การบริหารส่วนตำบลอุทัย ธนู บ้านช้าง คานหาม และสามบัณฑิต

  17. เขตประกอบการสวนอุตสาหกรรมโรจนะ อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา

  18. แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ : สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ภายนอกจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เขตประกอบการสวนอุตสาหกรรมโรจนะ 4,286 โรงงานที่มีของเสียประเภทโลหะมีค่า 1,679 916 245 331 โรงงานที่รวบรวมและคัดแยกโลหะมีค่า เข้ากระบวนการแปรสภาพนำกลับมาใช้ใหม่ โรงงานที่รับกำจัดของเสียประเภทสารเคมีและตัวเร่งปฏิกิริยา นำกลับไปใช้ประโยชน์อื่นๆ 46 ใช้เป็นเชื้อเพลิง/เผาเอาพลังงาน คัดแยกเพื่อจำหน่าย โรงงานที่มีของเสียประเภทสารเคมีและตัวเร่งปฏิกิริยา 0.5 222 34 รวบรวม/ส่งออกนอกประเทศ 9.50 0.27 1,689 เผาในเตาเฉพาะ

  19. การสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของชุมชนการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของชุมชน การชี้แจงข้อมูลโครงการต่อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 5 แห่ง การประชุมกลุ่มย่อยฯ ครั้งที่ 2 พฤษภาคม 2553 ผู้เข้าร่วมประชุม 41 ท่าน จาก 27 บริษัทและอบต. การประชุมกลุ่มย่อยสร้างความร่วมมือ ครั้งที่ 1 เมษายน 2553 ผู้เข้าร่วมประชุม 24 ท่าน จาก 11 บริษัท

  20. กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ • การมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่อย่างจริงจัง • การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือให้เข้มแข็ง • การประกอบกิจการด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม

  21. Thank You for Attention นายบัณฑิต ตันเสถียร Mr.Bundit TUNSATHIEN สำนักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม 75/6 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2202 4168, 02202 4165, 02202 4242 โทรสาร 02202 4167 e-mail : iwmb@diw.go.th website : http://www.diw.go.th/iwmb

More Related