1 / 43

การประเมินผลงานสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีงบประมาณ 2551

การประเมินผลงานสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีงบประมาณ 2551. คณะกรรมการอำนวยการประเมินผลงานสาธารณสุข. คำสั่ง สสจ.ปข . ที่ …… /2550 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน 2551. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ................................ประธาน

devika
Download Presentation

การประเมินผลงานสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีงบประมาณ 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลงานสาธารณสุขการประเมินผลงานสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีงบประมาณ 2551

  2. คณะกรรมการอำนวยการประเมินผลงานสาธารณสุขคณะกรรมการอำนวยการประเมินผลงานสาธารณสุข คำสั่ง สสจ.ปข.ที่ ……/2550 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน 2551 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ................................ประธาน รองนพ.สสจ. 1 ,2, 3..............................................รองประธาน ผู้ประสานงานทันตสาธารณสุข..............................รองประธาน ผู้ประสานกลุ่มงานใน สสจ. ....................................กรรมการ ผู้ประสานกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์.....................เลขา นักวิชาการงานประเมินผล......................................ผู้ช่วยเลขา

  3. สาระสำคัญการประเมินปี 2551 สรุปดังนี้ • 1. การประเมินครอบคลุมหน่วยงานทั้ง 4 ระดับ ( CUP + รพ. + สสอ. + สอ. ) และให้น้ำหนักคะแนนประเมินทุกหน่วยงานเท่ากัน • 2. การประเมินระดับสถานีอนามัย กลุ่มเป้าหมายเฉพาะสถานีอนามัยที่มีผลคะแนนการประเมินในปี 2550 น้อยกว่า 90 % ( มีทั้งหมด 68 แห่ง) 12 แห่ง รายงานผลการประเมินตนเอง จังหวัดไม่ลงตรวจผลงานเชิงคุณภาพ***

  4. สาระสำคัญการประเมินปี 2551 (ต่อ) • 3. ประเด็นค่า K ระดับความยากในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย มอบให้พื้นที่ (สาธารณสุขอำเภอ) ร่วมพิจารณากำหนดเกณฑ์ • 4. การประเมินหน่วยงานทุติยภูมิ (โรงพยาบาล) ให้ความสำคัญกับงานทุติยภูมิเพิ่มขึ้น (ตัวชี้วัด / น้ำหนักเพิ่มขึ้น) • 5. ให้ความสำคัญกับการประเมินหน่วยงานสสอ. (ตัวชี้วัดเพิ่มจากปี 50) • 6. ตัวชี้วัดในการประเมิน จะจัดให้เป็น กลุ่มตัวชี้วัด

  5. สรุปจำนวนตัวชี้วัด • CUP 42 ตัวชี้วัด • โรงพยาบาล 25 ตัวชี้วัด • สสอ. 30ตัวชี้วัด • สอ. 25 ตัวชี้วัด

  6. วัตถุประสงค์การประเมินวัตถุประสงค์การประเมิน • 1. เพื่อประเมินการบริหารจัดการงานตามตัวชี้วัดนโยบายสำคัญ • 2. เพื่อตรวจสอบคุณภาพการรายงานผลงานตามตัวชี้วัดนโยบายสำคัญ • 3. เพื่อทราบปัญหา / อุปสรรคการดำเนินงานตามตัวชี้วัดนโยบายสำคัญ

  7. กลุ่มเป้าหมายการประเมินกลุ่มเป้าหมายการประเมิน • 1. CUP / โรงพยาบาล 8 แห่ง • 2. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 8 แห่ง • 3. สถานีอนามัย 68 แห่ง

  8. แนวคิดตัวชี้วัด / น้ำหนัก/ เกณฑ์ในการประเมิน • ประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานในนโยบายสำคัญที่หน่วยงานทั้ง 4 ระดับ (CUP ,โรงพยาบาล , สสอ.,สอ.) มีส่วนเกี่ยวข้อง • น้ำหนักตัวชี้วัดตามมิติ กพร. มิติ 1 ด้านประสิทธิผลตามแผนยุทธศาสตร์ ( ร้อยละ 50 ) มิติ 2 ด้านคุณภาพบริการ ( ร้อยละ 20 ) มิติ 3 ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (ร้อยละ 10 ) มิติ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร (ร้อยละ 20 )

  9. เกณฑ์ในการประเมิน ผลงานเชิงปริมาณคิดเป็นน้ำหนัก ร้อยละ 60 ผลงานเชิงคุณภาพคิดเป็นน้ำหนัก ร้อยละ 40 รายละเอียดการวิเคราะห์คะแนนผลงานตามเอกสาร

  10. โครงสร้างการเขียน KPI profile/ แนวทางการวิเคราะห์ผลงานเชิงคุณภาพ/ รายละเอียดตามเอกสาร

  11. โครงสร้างการเขียน KPI profile

  12. แนวทางการวิเคราะห์ผลงานเชิงคุณภาพแนวทางการวิเคราะห์ผลงานเชิงคุณภาพ 1 .ให้คะแนนตามความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันของแหล่งข้อมูล ทั้งหมดที่ใช้ยืนยันผลงานของตัวชี้วัด ครบ 10 ข้อ ได้ 5 คะแนน ครบ 9 ข้อ ได้ 4 คะแนน ครบ 8 ข้อ ได้ 3 คะแนน ครบ 7 ข้อ ได้ 2 คะแนน ครบ 6 ข้อ ได้ 1 คะแนน ไม่มีข้อมูล 0 คะแนน (ตัวอย่างมี 10 แหล่งข้อมูล)

  13. 2 .ให้คะแนนตามความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันของแหล่งข้อมูลทั้งหมดที่ใช้ยืนยันผลงานของตัวชี้วัด เต็ม 5 พบข้อบกพร่องปรับลดคะแนนตามส่วน ไม่มีข้อมูล 0 คะแนน 3 .ให้คะแนนเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลงานเชิงปริมาณ กรณีการตรวจผลงานเชิงปริมาณ และคุณภาพไม่สามารถแยกได้ชัดเจน

  14. ระยะเวลาตรวจประเมิน / ระยะเวลา PCU 68 แห่ง / วันละ 2 แห่ง เดือนกรกฏาคม 21 – 22 วัน สสอ. 8 แห่ง / วันละ 2 แห่ง เดือนสิงหาคม 4 วัน CUP / โรงพยาบาล 8 แห่ง / วันละ 1 แห่ง เดือนสิงหาคม 8 วัน วิธีการตรวจประเมิน 1. ตรวจประเมินผลงานที่พื้นที่ ( Site Audit ) 2. ตรวจประเมินผลงานจากระบบข้อมูลที่พื้นที่ส่งให้สสจ.

  15. ทีม 3 ทีม ทีม 1 หัวหน้าทีม คุณนงเยาว์ นวลพรหม รองหัวหน้าทีม มล.เพ็ญประไพ หอยทอง รับผิดชอบพื้นที่ อ.หัวหิน 7 แห่ง อ.ปราณบุรี 7 แห่ง อ.สามร้อยยอด 6 แห่ง อ.กุยบุรี 2 แห่ง รวม 22 แห่ง ( 11 วัน )

  16. กำหนดการประเมินงานสาธารณสุขผสมผสานกำหนดการประเมินงานสาธารณสุขผสมผสาน เดือนกรกฎาคม ปี 2551, (ทีมที่ 1)

  17. ทีม 2 หัวหน้าทีม นพ. จรัญ จันทมัตตุการ รองหัวหน้าทีม คุณสุกัญญา เจียรวนานนท์ รับผิดชอบพื้นที่ อ.เมือง 10 แห่ง อ.ทับสะแก 7 แห่ง อ.กุยบุรี 7 แห่ง รวม 24 แห่ง ( 12 วัน )

  18. กำหนดการประเมินงานสาธารณสุขผสมผสานกำหนดการประเมินงานสาธารณสุขผสมผสาน เดือนกรกฎาคม ปี 2551, (ทีมที่ 2)

  19. ทีม 3 หัวหน้าทีม คุณเจริญจิตต์ สุขเกษม รองหัวหน้าทีม ทพ.ทินกรจงกิตตินฤกร รับผิดชอบพื้นที่ อ.บางสะพาน 14 แห่ง อ.บางสะพานน้อย 6 แห่ง อ.ทับสะแก 2 แห่ง รวม 22 แห่ง ( 11 วัน )

  20. กำหนดการประเมินงานสาธารณสุขผสมผสานกำหนดการประเมินงานสาธารณสุขผสมผสาน เดือนกรกฎาคม ปี 2551, (ทีมที่ 3)

  21. กำหนดการประเมินผลงานเครือข่ายบริการสุขภาพกำหนดการประเมินผลงานเครือข่ายบริการสุขภาพ สาธารณสุขผสมผสาน สิงหาคม ปี 2551

  22. แบบประเมิน • รายงานผลการประเมินตนเอง • รายงานผลทุกตัว

  23. ตัวชี้วัด จากนโยบายผู้บริหาร

  24. ระดับความสำเร็จของประสิทธิภาพการบริหารงานสาธารณสุข สถานีอนามัยในสังกัดประเมินจาก 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ KPI1. คะแนน%เฉลี่ยของ สอ.ในความรับผิดชอบ ที่ได้จากการประเมินสาธารณสุขผสมผสาน KPI2. ค่าพิสัย(range) คือ คะแนน% สอ.ที่สูงสุด – คะแนน %สอ. ที่ต่ำสุด ระดับความสำเร็จ =(ระดับKPI1*0.6) + (ระดับKPI2*0.4

  25. ระดับสภาพความยากในการปฎิบัติงานของเจ้าหน้าที่ สอ. • ประเมินจาก 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ • KPI 1 จำนวน เจ้าหน้าที่( จนท. + ลูกจ้างที่เกี่ยวข้องกับบริการ การจัดทำข้อมูล • และ งานแผนไทย ต่อ จำนวนปชก.ที่รับผิดชอบ( สำรวจปี 50 ที่ส่งให้งานข้อมูล) • KPI 2. จำนวนผู้มารับบริการ(ข้อมูลในHCIS 9 เดือน) เฉลี่ยต่อเดือน • KPI 3. ระยะทาง กม. จาก สอ.ถึง สสอ. • KPI4. ค่าเฉลี่ยระยะทาง กม. จากบ้านไกลสุดถึง สอ. (ทุกหมู่ที่รับผิดชอบ) • KPI 5. สภาพถนนจาก สอ. ถึง สสอ. • KPI6.ไฟฟ้าภูมิภาค KPI7. ประปา KPI8.โทรศัพท์พื้นฐานใน สอ.

  26. ตัวชี้วัด กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์

  27. ผลการประเมินการดำเนินงานเครือข่ายบริการสุขภาพผลการประเมินการดำเนินงานเครือข่ายบริการสุขภาพ ภาพรวมทั้งจังหวัด ( 8 อำเภอ ) คะแนนเฉลี่ยได้ 82.04 คะแนน สูงสุด 87.15 , ต่ำสุด 75.74 ,S.D. 4.46

  28. กำหนดการนิเทศการประเมินผลงานเครือข่ายบริการสุขภาพกำหนดการนิเทศการประเมินผลงานเครือข่ายบริการสุขภาพ สาธารณสุขผสมผสาน พฤษภาคม ปี 2551

  29. วัตถุประสงค์การนิเทศ • เพื่อชี้แจงระบบการคิดคะแนนเกณฑ์การประเมิน • เพื่อชี้แจงตัวชี้วัดกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ • เพื่อรับทราบปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานในพื้นที่ ขอเชิญ ผู้แทน CUP / สาธารณสุขอำเภอ / นักวิชาการสสอ. หัวหน้าสอ.และนักวิชาการทุกแห่ง

More Related