1 / 86

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. เป้าหมายของหลักสูตร. พัฒนาผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ. สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับหลักสูตร.

Download Presentation

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป้าหมายของหลักสูตร พัฒนาผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ

  2. สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับหลักสูตร หลักสูตรแกนกลางนี้เป็นหลักสูตรที่เน้นการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบอิงมาตรฐาน และตัวชี้วัดเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน มี 5 ข้อ เพื่อระบุว่าผู้เรียนมีความสามารถทำอะไรได้ มีทักษะใดบ้างและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ข้อ ซึ่งเป็นเป้าหมายสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน

  3. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

  4. เด็กชายแดงมีความสามารถในการประยุกต์ ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาเด็กชายแดงมีความสามารถในการประยุกต์ ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา เด็กหญิงขาว มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ เด็กหญิงฟ้า มีความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด ความคิด

  5. เด็กชายดำ มีความสามารถในการเลือกและใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ในด้านการ เรียนรู้ การสื่อสาร เด็กหญิงชมพู มีความสามารถในการนำ กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน

  6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซื่อสัตย์สุจริต 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 3. มีวินัย 7. รักความเป็นไทย 4. ใฝ่เรียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ

  7. มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐาน พ2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนินชีวิต

  8. ตัวชี้วัด • - ระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น • นำไปใช้กำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และการวัดประเมินผล

  9. ตัวชี้วัด ป.1/2 ว 1.1 ป.1/2 ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2 สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1.1 ว

  10. ตัวชี้วัดชั้นปี • - เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ • เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ตัวชี้วัดช่วงชั้น

  11. ตัวชี้วัด ม.4-6/4 ว 2.3 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย ข้อที่ 4 สาระที่ 2มาตรฐานข้อที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.4-6/4 2.3 ว

  12. คำถามสำคัญ 1. จะทราบได้อย่างไรว่าในแต่ละภาคเรียนจะจัดกิจกรรมอะไรบ้างให้กับผู้เรียน 2. เนื้อหา/สาระใด มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ใด จะจัดกิจกรรมการเรียนรู้เมื่อไร ใช้เวลานานเท่าใด

  13. เวลา ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ น้ำหนักคะแนน ขอบข่าย/ภาพรวมรายวิชา องค์ประกอบ โครงสร้างรายวิชา

  14. ใบงานการทำโครงสร้างรายวิชา ใบงานการทำโครงสร้างรายวิชา 1. เลือก 1 รายวิชา วิเคราะห์ มฐ. /ตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้ ที่สามารถสอนด้วยกันได้ จัดเป็นกลุ่ม/หน่วย 2. บันทึกลงแบบบันทึก......................................................................................................... ลำดับ ชื่อหน่วย มฐ.ตชว. สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ เวลา นน.

  15. หน่วยการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน

  16. 1 หน่วย อาจมากกว่า 1 มฐ./ตชว. เป้าหมาย คือ มฐ./ตชว. มฐ.เนื้อหา และ กระบวนการ ( ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะ ) แก่นความรู้

  17. การออกแบบการจัดการเรียนรู้การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนจำเป็นต้องใช้วิธีสอนและเทคนิค การสอน การวัดและประเมินผล เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถดำเนินการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเต็มตามศักยภาพ

  18. บทบาทของผู้สอน 1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่ท้าทายความสามารถของผู้เรียน 2) กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์

  19. การวิเคราะห์ผู้เรียน วิเคราะห์เพื่อจัดกลุ่มตามวิธีการเรียนรู้ นักปฏิบัติ นักกิจกรรม นักทฤษฎี นักวิเคราะห์ ( ใช้แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล )

  20. 1. นักวิเคราะห์ เรียนรู้ข้อมูลใหม่ แก้ปัญหาจากสถานการณ์จริง อ่านหนังสือ ฟังอภิปราย ทำความเข้าใจจากแผนผัง ไม่ชอบฟังบรรยาย ชอบ วางแผน การวิเคราะห์ผู้เรียน 4. นักปฏิบัติ 2. นักทฤษฎี ทำงานที่กำหนดเวลาสั้น ๆ มีความเป็นผู้นำ ชอบสิ่งท้าทาย กระตือรือร้น รักงาน ชอบ คิดอย่างเป็นระเบียบ แนวคิดชัดเจน อ้างหลักการทฤษฎี สร้างแนวคิด 3. นักจัดกิจกรรม

  21. บทเรียนด้วยตนเอง ศูนย์การเรียน กรณีศึกษา ชุดการสอน โครงงาน นักวิเคราะห์ จัดกลุ่มเล็ก ๆ กิจกรรมหลากหลาย สังเกต >> สรุปหลักการ การจัดการเรียนรู้ นักทฤษฎี นักปฏิบัติ เรียนรู้จากการปฏิบัติ สาธิตโดยใช้แบบจำลอง แก้ปัญหาจากประสบการณ์จริง นักกิจกรรม บทบาทสมมุติ ทำงานกลุ่ม เรียนรู้จากประสบการณ์ ทัศนศึกษา

  22. วิธีการเรียนรู้หรือลีลา การเรียนรู้ของผู้เรียน (Learning Styles)

  23. Anthony Grasha และ Sheryl Reichmann ได้จำแนกลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนออกเป็น 6 แบบ คือ 1. แบบอิสระ (Independence) ชอบคิดและทำงานต่าง ๆ ด้วยตนเอง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความตั้งใจที่จะศึกษาในสิ่งที่ตนเองเห็นว่ามีความสำคัญ

  24. 2. แบบหลบหลีก (Avoidance) ไม่สนใจ การเรียนรู้เนื้อหาสาระ ไม่มีส่วนร่วมกับผู้เรียนคนอื่น มีความคิดว่าห้องเรียนเป็นสิ่งที่น่าเบื่อหน่าย 3. แบบร่วมมือ (Collaboration) เรียนรู้ได้ดีจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชอบทำงานร่วมกับคนอื่น ๆ มองว่าห้องเรียนเป็นสังคมที่มีปฏิสัมพันธ์ที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้

  25. 4. แบบพึ่งพา (Dependence) ไม่ค่อยอยากเรียนรู้ จะเรียนเฉพาะสิ่งที่ถูกกำหนดให้เรียน ไม่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 5. แบบแข่งขัน (Competition) มีความรู้สึกว่าตนเองจะต้องชนะเสมอ จึงทำให้คนอื่นไม่ชอบที่จะมี ส่วนร่วมกับผู้เรียนแบบนี้

  26. 6. แบบมีส่วนร่วม (Participation) ชอบเข้าห้องเรียน มีส่วนร่วมในกิจกรรมในห้องเรียนให้มากที่สุด แต่จะมีส่วนร่วมน้อยในกิจกรรมที่ไม่ได้อยู่ในแนวทางของรายวิชาที่เรียน

  27. การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 - เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดเป็นเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ - การจัดทำหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน เป็นหน่วย การเรียนรู้ที่มีมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด เป็นเป้าหมายเรียนรู้ของหน่วยในการออกแบบ

  28. 3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่นำผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย 4) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม 5) ประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย 6) นำผลการประเมินมาวิเคราะห์เพื่อซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของตนเอง

  29. หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน Backward Design มี มฐ./ตชว. เป็นเป้าหมาย สำคัญที่สุดของ ลส.ส.มฐ. - ปฏิบัติ การออกแบบยึดเป้าหมายการเรียนรู้ ( มฐ./ตชว คุณภาพ นร.) แบบย้อนกลับ

  30. Backward Design ขั้น1 กำหนดเป้าหมาย มฐ.ตชว. รู้/ทำอะไรได้ ขั้น2 กำหนดหลักฐานร่องรอย ( ชิ้นงาน ผลตามเป้าหมาย) ขั้น 3 ออกแบบกระบวนการ/ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามเป้าหมาย

  31. เป้าหมายการเรียนรู้ (มฐ. /ตชว.) BW หลักฐานการเรียนรู้ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม

  32. กระบวนการจัดทำหน่วยการเรียนรู้กระบวนการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ เป้าหมาย มฐ./ตชว. สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้( K A P ) กำหนดชิ้นงาน เกณฑ์ประเมิน วางแผนกิจกรรม ตั้งชื่อหน่วย/เวลา

  33. หลักการกำหนดชิ้นงาน ภาระงาน ประเมินหลากหลาย หลายฝ่าย ดู มฐ./ตชว. ให้ชัด ครอบคลุม ตัวชี้วัด 1ชิ้น มฐ. เดียวกัน/ต่าง เลือก ตชว. พัฒนาหลายด้าน เกิดเรียนรู้ ชอบ หลายวิธี ชิ้นงาน ภาระงาน

  34. ชิ้นงาน ภาพ/แผนภูมิ/กราฟ งานเขียน สิ่งประดิษฐ์ นิทรรศการ

  35. ภาระงาน พูด รายงาน ร้องเพลง เล่นดนตรี * ทดลอง ละคร สาธิต

  36. เน้นคุณภาพชิ้นงาน ที่ชี้ความรู้ สามารถ รู้เป้าหมาย ทำชิ้นงาน เห็นการยกระดับ การประเมินผล ด้วยRubric ให้คะแนนยุติธรรม

  37. เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์การให้คะแนนการเขียนแผนภาพ/ วาดภาพ / ปั้นดินน้ำมันโครโมโซม

  38. 2. เกณฑ์การให้คะแนนการนำเสนอชิ้นงาน เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับพอใช้ขึ้นไป

  39. เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 10-12 หมายถึง ดีมาก คะแนน 7-9 หมายถึง ดี คะแนน 4-6 หมายถึง พอใช้ คะแนน 1-3 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับพอใช้ขึ้นไป

  40. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้

  41. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 1. ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มารู้จักโครโมโซมกันเถอะ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

  42. ตัวชี้วัด 1. สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส 3. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด โครโมโซมประกอบด้วยดีเอ็นเอและโปรตีน ซึ่งยีนหรือหน่วยพันธุกรรมเป็นส่วนหนึ่งที่อยู่บนดีเอ็นเอ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. เมื่อมองเซลล์ผ่านกล้องจุลทรรศน์จะเห็นเส้นใยเล็ก ๆ พันกันอยู่ในนิวเคลียส เมื่อเกิดการแบ่งเซลล์เส้นใยเหล่านี้จะขดสั้นเข้าจนมีลักษณะเป็นท่อนสั้น เรียกว่า โครโมโซม

  43. 2. โครโมโซม ประกอบด้วย ดีเอ็นเอและโปรตีน 3. ยีนหรือหน่วยพันธุกรรมเป็นส่วนหนึ่งที่อยู่บน ดีเอ็นเอ 5. ทักษะการคิด 5.1 ทักษะการสังเกต 5.2 ทักษะการสำรวจค้นหา 5.3 ทักษะการสรุปลงความเห็น

  44. 6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร 6.2 ความสามารถในการคิด 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7.1 มีวินัย 7.2 ใฝ่เรียนรู้ 7.3 มุ่งมั่นในการทำงาน

  45. 8. ชิ้นงาน / ภาระงาน ชิ้นงาน - การเขียนแผนภาพ / วาดภาพ / การปั้นดินน้ำมัน ลักษณะของโครโมโซม ภาระงาน - การพูดอธิบายชิ้นงาน

  46. 9. การวัดและประเมินผล 1) การเขียนแผนภาพ / วาดภาพ / การปั้นดินน้ำมัน ลักษณะของโครโมโซม 2) การพูดอธิบายชิ้นงาน 10. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1-2 ขั้นที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ภาระงาน และโครงสร้างของงาน

  47. ชั่วโมงที่ 3 ขั้นที่ 2 การวางแผนปฏิบัติ ชั่วโมงที่ 4 ขั้นที่ 3 การลงมือปฏิบัติ ชั่วโมงที่ 5 ขั้นที่ 4 ประเมินผลงาน / ปรับปรุงชิ้นงาน

  48. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้

  49. วิธีการเรียนการสอนแบบกระตือรือร้นวิธีการเรียนการสอนแบบกระตือรือร้น • เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ • มีการทำงานเป็นกลุ่ม มีวินัย • นักเรียนเป็นผู้รับผิดชอบในการเรียนรู้ • เน้นทักษะกระบวนการ ใช้ทักษะการแก้ปัญหา • มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • มีการฟัง อ่าน พูด เขียน แบบกระตือรือร้น • มีการทดสอบประเมินงานตนเอง และปรับปรุงพัฒนา • ครูเป็นผู้แนะนำ นำอภิปราย ตั้งคำถาม และอำนวยความสะดวก

More Related