1 / 50

ภาวะไขมันในเลือดสูง ( Dyslipidemia )

การประชุมอบรมเรื่องความปลอดภัยด้านยา. ภาวะไขมันในเลือดสูง ( Dyslipidemia ). Clinical update and drugs treatment. รศ.นพ.อัษฎา ตียพันธ์ 9 มิ.ย. 2551. ไขมันที่สำคัญในร่างกายมนุษย์. โคเลสเตอรอล (cholesterol) ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) ฟอสโฟไลปิด (phospholipid)

fayola
Download Presentation

ภาวะไขมันในเลือดสูง ( Dyslipidemia )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมอบรมเรื่องความปลอดภัยด้านยาการประชุมอบรมเรื่องความปลอดภัยด้านยา ภาวะไขมันในเลือดสูง(Dyslipidemia) Clinical update and drugs treatment รศ.นพ.อัษฎา ตียพันธ์ 9 มิ.ย. 2551

  2. ไขมันที่สำคัญในร่างกายมนุษย์ไขมันที่สำคัญในร่างกายมนุษย์ • โคเลสเตอรอล (cholesterol) • ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) • ฟอสโฟไลปิด (phospholipid) • กรดไขมัน (fatty acid) • เลซิทิน (lecithin) • สฟิงโกมัยอีลิน (sphyngomyelin)

  3. ประโยชน์ของโคเลสเตอรอลต่อร่างกายประโยชน์ของโคเลสเตอรอลต่อร่างกาย ใช้ในการ • สร้างผนังเซล (cell membrane) • สร้างกรดน้ำดี (bile acid) • สร้างฮอร์โมนกลุ่มสเตียรอยด์ รวมทั้งฮอร์โมนเพศ

  4. การขนถ่ายสารไขมันในร่างกายมนุษย์การขนถ่ายสารไขมันในร่างกายมนุษย์ • อยู่ในรูปของ lipoprotein (สารประกอบระหว่างโมเลกุลของไขมันและโปรตีนพิเศษบางชนิด)

  5. โครงสร้างของ Lipoproteins Free cholesterol Phospholipid Triglyceride Cholesteryl ester Apolipoprotein

  6. ชนิดของ Lipoprotein • 5 ชนิด แบ่งตามความหนาแน่น 1. Chylomicrons 2. Very low-density lipoprotein (VLDL) 3. Intermediate-density lipoprotein (IDL) 4. Low-density lipoprotein (LDL) 5. High-density lipoprotein (HDL)

  7. สัดส่วนของไขมันใน Lipoprotein TG = Triglyceride PL = Phospholipids

  8. โคเลสเตอรอลในร่างกายมาจากไหน?โคเลสเตอรอลในร่างกายมาจากไหน? 2 แหล่ง 1. อาหาร 2. ร่างกายสร้างขึ้นมาเองจากเนื้อเยื่อต่าง ๆ โดยเฉพาะตับ

  9. กล้ามเนื้อ ไขมันจากอาหาร ไตรกลีเซอไรด์และโคเลสเตอรอลจากอาหาร ลำไส้ Chylomicron Chylomicron LP lipase LP lipase ตับ Remnant Remnant receptor receptor Chylomicron Chylomicron FFA remnant remnant to atheroma to atheroma เนื้อเยื่อไขมัน

  10. การสร้างและขนถ่ายไขมันในร่างกายการสร้างและขนถ่ายไขมันในร่างกาย LPL Lipoprotein lipase LPL Lipoprotein lipase HL Hepatic lipase HL Hepatic lipase LPL LDL LDL IDL IDL IDL HL LPL LDL LDL receptor receptor HL Small Small LPL VLDL VLDL HL Large Large ตับ VLDL VLDL

  11. ABCA1 กลไกการขนถ่ายโคเลสเตอรอลออกจากเนื้อเยื่อ Cell membrane ตับ SRB1 LDL receptor CE CE FC VLDL, IDL, LDL LCAT CETP HDL HDL3 TG Peripheral tissues Free cholesterol FC TG Triglycerides CE Cholesterol esters LCAT Lecithin cholesterol acyl transferase CETP Cholesteryl ester transfer protein

  12. การตรวจระดับไขมันในเลือดการตรวจระดับไขมันในเลือด • โคเลสเตอรอลรวม (total cholesterol, TC) • ไตรกลีเซอไรด์ (TG) • HDL-cholesterol • LDL-cholesterol • การวัดระดับโดยตรง (direct measurement) • การคำนวณจากสูตรของ Friedewald • LDL-c = TC - (HDL-c) - (TG/5) • ไม่ใช้สูตรนี้ถ้าไตรกลีเซอไรด์มีค่ามากกว่า 400 mg/dL

  13. ความสำคัญของระดับไขมันในเลือดความสำคัญของระดับไขมันในเลือด 1. การมีโคเลสเตอรอลรวมและ LDL-c สูง • เพิ่มความเสี่ยง (โอกาส) ในการเป็นโรค 1. หลอดเลือดหัวใจตีบ • ระดับโคเลสเตอรอลรวมสูงขึ้น 10% จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 20% - 30% 2. หลอดเลือดสมอง (stroke) 3. หลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral arterial disease)

  14. Seven Countries Study: Relationship of Serum Cholesterol to Mortality 35 Northern Europe 30 25 United States 20 Death rate from CHD/1000 men 15 Southern Europe, Inland 10 Serbia Southern Europe, Mediterranean 5 Japan 0 2.60 3.25 3.90 4.50 5.15 5.80 6.45 7.10 7.75 8.40 9.05 Serum total cholesterol (mmol/L) Adapted from Verschuren WM et al. J Am Med Assoc 1995;274(2):131–136

  15. The Framingham Study: Relationship Between Cholesterol and CHD Risk 150 125 100 CHD incidence per 1000 75 50 25 0 <204 205–234 235–264 265–294 >295 Serum cholesterol (mg/100 mL) Adapted from Castelli WP. Am J Med 1984;76:4–12

  16. ความเสี่ยงสัมพัทธ์ในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบในระยะเวลา 4 ปี ของชายอายุ 50 - 70 ปี ใน Framingham Heart Study ตามระดับโคเลสเตอรอล Kannel WB. Am J Cardiol 1983; 52: 9B - 12B

  17. ความสำคัญของระดับไขมันในเลือดความสำคัญของระดับไขมันในเลือด 2. การมี HDL-c ต่ำ • เพิ่มความเสี่ยง (โอกาส) ในการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ • HDL-c เพิ่มขึ้น 1 mg/dL จะลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบได้ประมาณ 2% - 3%

  18. ความสำคัญของระดับไขมันในเลือดความสำคัญของระดับไขมันในเลือด 3. การมีไตรกลีเซอไรด์สูง • เพิ่มความเสี่ยง (โอกาส) ในการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ • ไตรกลีเซอไรด์เพิ่มขึ้น 88.5 mg/dL เพิ่มอุบัติการของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบประมาณ 14% ในเพศชายและ 37% ในเพศหญิง • ขึ้นกับชนิดของ lipoprotein ที่ทำให้ไตรกลีเซอไรด์สูง • ถ้าระดับสูงมาก ๆ (> 500 mg/dL) จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดตับอ่อนอักเสบ

  19. Classification of Dyslipidaemias:Fredrickson (WHO) Classification Phenotype I IIa IIb III IV V Lipoprotein elevated Chylomicrons LDL LDL and VLDL IDL VLDL VLDL and chylomicrons Serum cholesterol Serum triglyceride Atherogenicity None seen +++ +++ +++ + + Prevalence Rare Common Common Intermediate Common Rare Normal to Normal Normal to Normal to LDL – low-density lipoprotein; IDL – intermediate-density lipoprotein; VLDL – very low-density lipoprotein. (High-density lipoprotein (HDL) cholesterol levels are not consideredin the Fredrickson classification.) Adapted from Yeshurun D, Gotto AM. Southern Med J 1995;88(4):379–391

  20. โคเลสเตอรอลในเลือดสูงทำให้เกิดการตีบแคบของหลอดเลือดได้อย่างไร?โคเลสเตอรอลในเลือดสูงทำให้เกิดการตีบแคบของหลอดเลือดได้อย่างไร? • โดยขบวนการ atherosclerosis

  21. Normal Arterial Wall Tunica adventitia Tunica media Tunica intima Endothelium Subendothelial connective tissue Internal elastic membrane Smooth muscle cell Elastic/collagen fibres External elastic membrane Adapted from Weissberg PL. Eur Heart J Supplements 1999:1:T13–18

  22. กลไกการเกิด atherosclerosis Endothelial injury Protective response results in production of cellular adhesion molecules Monocytes and T lymphocytes attach to ‘sticky’ surface of endothelial cells Migrate through arterial wall to subendothelial space Macrophages take up oxidised LDL-cholesterol Lipid-rich foam cells Fatty streak and plaque

  23. Endothelial Dysfunction in Atherosclerosis Upregulation of endothelial adhesion molecules Leukocyte adhesion Increased endothelial permeability Migration of leukocytes into the artery wall • Adapted from Ross R. N Engl J Med 1999;362:115–126

  24. Fatty Streak Formation in Atherosclerosis Adherence and entry of leukocytes Migration of smooth muscle cells Formation of foam cells Activation of T cells Adherence and aggregation of platelets • Adapted from Ross R. N Engl J Med 1999;362:115–126

  25. Formation of the Complicated Atherosclerotic Plaque Formation of the fibrous cap Formation of necrotic core Accumulation of macrophages • Adapted from Ross R. N Engl J Med 1999;362:115–126

  26. The Unstable Atherosclerotic Plaque Thinning of the fibrous cap Haemorrhage from plaque microvessels Rupture of the fibrous cap • Adapted from Ross R. N Engl J Med 1999;362:115–126

  27. Atherosclerotic Plaque Rupture and Thrombus Formation Growth of thrombus Intraluminal thrombus Blood Flow Lipid pool Intraplaque thrombus • Adapted from Weissberg PL. Eur Heart J Supplements 1999:1:T13–18

  28. สาเหตุของภาวะไขมันในเลือดสูงสาเหตุของภาวะไขมันในเลือดสูง • เป็นผลสืบเนื่องมาจากโรคหรือภาวะบางอย่าง (secondary dyslipidemia) • เกิดจากความผิดปกติของ lipoprotein metabolism โดยตรง (primary dyslipidemia)

  29. โรคหรือภาวะที่ทำให้ระดับไขมันในเลือดสูงโรคหรือภาวะที่ทำให้ระดับไขมันในเลือดสูง

  30. Primary dyslipidemia ที่พบบ่อย 1. Familial hypercholesterolemia • โคเลสเตอรอลประมาณ 275 – 500 mg/dL, ไตรกลีเซอไรด์มักปกติ, HDL-c อาจปกติหรือต่ำ • tendon xanthoma, xanthelasma 2. Polygenic hypercholesterolemia • โคเลสเตอรอลประมาณ 240 – 350 mg/dL, ไตรกลีเซอไรด์และ HDL-c ปกติ • ไม่พบ xanthoma

  31. Primary dyslipidemia ที่พบบ่อย 3. Familial combined hyperlipidemia • โคเลสเตอรอลประมาณ 250 – 500, ไตรกลีเซอไรด์ประมาณ 250 – 750 4. Familial dysbetalipoproteinemia • โคเลสเตอรอลประมาณ 250 – 500, ไตรกลีเซอไรด์ประมาณ 250 – 500 • palmar xanthoma, tuboeruptive xanthoma

  32. การประเมินระดับไขมันในเลือดตาม NCEP ATP III (2002)

  33. ข้อควรทราบในการตรวจระดับไขมันในเลือดข้อควรทราบในการตรวจระดับไขมันในเลือด • การตรวจไตรกลีเซอไรด์จำเป็นต้องงดอาหาร 12-14 ชั่วโมง (ดื่มน้ำเปล่าได้) • ควรประเมินระดับไขมันในเลือดอย่างน้อย 2-3 ครั้งในระยะเวลา 1-3 เดือนเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานก่อนเริ่มตัดสินใจในการรักษา • ไม่ควรเปลี่ยนแบบแผนการรับประทานอาหารในช่วง 3 สัปดาห์ก่อนการเจาะเลือด และน้ำหนักตัวควรคงที่ในช่วงนั้นด้วย

  34. เมื่อใดจึงควรเริ่มรักษาภาวะไขมันในเลือดสูงเมื่อใดจึงควรเริ่มรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง • จุดประสงค์ของการรักษาคือเพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ • ภาวะไขมันในเลือดสูงเป็นเพียงหนึ่งในหลายปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ • การเริ่มรักษาภาวะไขมันในเลือดสูงจึงจำเป็นต้องประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบโดยพิจารณาปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอื่น ๆ ร่วมด้วย (global risk assessment)

  35. การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ (global risk assessment) • การมีโรคหลอดเลือดหัวใจตีบอยู่แล้ว หรือมีโรคเบาหวาน หรือโรคหลอดเลือดแดงแข็งที่อวัยวะระบบอื่น ได้แก่ • โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral arterial disease) • โรคเส้นเลือดแดงใหญ่โป่งพอง (abdominal aortic aneurysm) • โรคหลอดเลือดสมอง • การมีปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ • ประเมินโอกาสที่จะเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบในช่วง 10 ปี โดยใช้ risk score ต่าง ๆ เช่น Framingham risk score

  36. ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญนอกเหนือจาก LDL-c สูง • อายุ (เพศชายตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป, เพศหญิงตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป) • สูบบุหรี่ • ความดันโลหิตสูง (140/90 มม.ปรอท หรือรับประทานยารักษาความดันโลหิตสูง) • HDL-c < 40 mg/dL (ถ้า 60 mg/dL ขึ้นไปให้ลบปัจจัยเสี่ยงอื่นออก 1 ข้อ) • มีญาติสายตรงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบก่อนวัยอันควร • ญาติผู้ชายเป็นก่อนอายุ 55 ปี • ญาติผู้หญิงเป็นก่อนอายุ 65 ปี

  37. ³ ³ 190 mg/dL 160 mg/dL† (160 – 189 mg/dL: drug optional) year risk 10 10 – ³ 20%: 130 mg/dL ³ 130 mg/dL† 10-year risk <10%: 160 mg/dL ³ ³ 130 mg/dL ³ 100 mg/dL† (100–129 mg/dL: drug optional) NCEP ATP III Guidelines NCEP ATP III Guidelines Initiate TLC* Drug therapy LDL - C Patients with if LDL - C considered if LDL - C treatment goal <160 mg/dL† 0 - 1 risk factors - <130 mg/dL† ³ 2 risk factors 20%) £ (10 - year risk CHD and CHD risk <100 mg/dL† equivalents (10 - year risk >20%) †100 mg/dL = 2.6 mmol/L; 130 mg/dL = 3.4 mmol/L; 160 mg/dL = 4.1 mmol/L * TLC: therapeutic lifestyle changes National Cholesterol Education Program, Adult Treatment Panel III. JAMA 2001;285:2486–2497

  38. NCEP ATP III: LDL-Cholesterol Goals CHD or CHD risk equivalents ≥2 risk factors <2 risk factors 190 - Target 160 mg/dL 160 - Target 130 mg/dL LDL-cholesterol level 130 - Target 100 mg/dL 100 - 100 mg/dL = 2.6 mmol/L; 130 mg/dL = 3.4 mmol/L; 160 mg/dL = 4.1 mmol/L National Cholesterol Education Program, Adult Treatment Panel III, 2001. JAMA 2001:285;2486–2497

  39. การรักษาภาวะไขมันในเลือดสูงการรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง 1. การปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิต (therapeutic lifestyle changes: TLC) • ควบคุมอาหาร หลีกเลี่ยงอาหารที่มีโคเลสเตอรอลและกรดไขมันอิ่มตัวในปริมาณมาก เพิ่มการบริโภคอาหารที่มีไฟเบอร์ • ลดน้ำหนักให้อยู่ในระดับที่พอเหมาะ • เพิ่มการออกกำลังกาย • หยุดสูบบุหรี่ 2. การใช้ยาลดระดับไขมันในเลือด

  40. ผลของยาลดระดับไขมันชนิดต่าง ๆ Therapy Bile acid sequestrants Nicotinic acid Fibrates(gemfibrozil) Probucol Statins* Ezetimibe TC Down 20% Down 25% Down 15% Down 25% Down 15–30% LDL Down 15–30% Down 5–25% Down 5–15% Down 10–15% Down 24–50% Down 15–20% HDL Up 3–5% Up 15–30% Up 20% Down 20–30% Up 6–12% Up 4–9% TG Neutral or up Down 20–50% Down 20–50% Neutral Down 10–29% Patient tolerability Poor Poor to reasonable Good Reasonable Good Good TC–total cholesterol, LDL–low density lipoprotein, HDL–high density lipoprotein, TG–triglyceride. * Daily dose of 40mg of each drug, excluding rosuvastatin. Adapted from Yeshurun D, Gotto AM. Southern Med J 1995;88(4):379–391, Knopp RH. N Engl J Med 1999;341:498–511, Gupta EK, Ito MK. Heart Dis 2002;4:399–409

  41. ผลข้างเคียงและข้อห้ามใช้สำหรับยาลดไขมันผลข้างเคียงและข้อห้ามใช้สำหรับยาลดไขมัน

  42. กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่ม Statins: Cholesterol Synthesis Pathway acetyl CoA HMG-CoA synthase HMG-CoA HMG-CoA reductase Statins X mevalonic acid mevalonate pyrophosphate isopentenyl pyrophosphate geranyl pyrophosphate ubiquinones dolichols farnesyl pyrophosphate Squalene synthase squalene cholesterol

  43. LDL-C % change HDL-C % change TG % change rosuvastatin (10 mg) atorvastatin (10 mg) simvastatin (20 mg) pravastatin (20 mg) fluvastatin (20 mg) -52 -39 -38 -32 -22 +14 +6 +8 +2 +3 -10 -19 -19 -11 -12 ประสิทธิภาพของ statin แต่ละชนิด Adapted from Product Data Sheets.

  44. Pleiotropic Effects of Statins • Improving or restoring endothelial function • Enhancing the stability of atherosclerotic plaques • Decreasing oxidative stress • Decreasing vascular inflammation • Anti-thrombotic effects Adapted from Takemoto M, Liao JK. Arterioscler Thromb Vasc Biol 2001;21:1712–1719

  45. บุคคลทั่วไปควรตรวจระดับไขมันในเลือดเมื่อใด?บุคคลทั่วไปควรตรวจระดับไขมันในเลือดเมื่อใด? ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย • ผู้ที่อายุมากกว่า 35 ปี ควรตรวจโคเลสเตอรอลรวม (total cholesterol) ทุก 3 – 5 ปี • ผู้ชายอายุมากกว่า 45 ปี ควรตรวจไตรกลีเซอไรด์และ HDL-c ร่วมด้วย • ผู้หญิงอายุมากกว่า 55 ปี ควรตรวจไตรกลีเซอไรด์และ HDL-c ร่วมด้วย

  46. Thank you For your attention

More Related