310 likes | 556 Views
องค์ประกอบ Graphic. หัวข้อ. องค์ประกอบงานกราฟิก เส้น รูปร่าง, รูปทรง, น้ำหนัก พื้นผิว สีในการสื่อความหมาย ความหมายสี เทคนิคการนำสีไปใช้ ตัวอักษรในงานกราฟิก วิธีเลือกตัวอักษรและรูปแบบที่ใช้. องค์ประกอบงานกราฟิก. จุด เส้น รูปทรง, รูปร่าง, น้ำหนัก พื้นผิว. จุด ( DOT ).
E N D
หัวข้อ • องค์ประกอบงานกราฟิก • เส้น • รูปร่าง, รูปทรง, น้ำหนัก • พื้นผิว • สีในการสื่อความหมาย • ความหมายสี • เทคนิคการนำสีไปใช้ • ตัวอักษรในงานกราฟิก • วิธีเลือกตัวอักษรและรูปแบบที่ใช้
องค์ประกอบงานกราฟิก • จุด • เส้น • รูปทรง, รูปร่าง, น้ำหนัก • พื้นผิว
จุด ( DOT ) • เป็นองค์ประกอบที่มีความสำคัญ เพราะเป็นต้นกำเนิดของเส้น และน้ำหนัก จะเห็นได้ชัดในงานกราฟิกประเภท Halftone
เส้น ( LINE ) • เส้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดง ความรู้สึก และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง (Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้ เมื่อนำมาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน จะมีชื่อเรียกต่าง ๆ และให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกันอีกด้วย
รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก • รูปร่าง (Shape) – เป็นองค์ประกอบต่อเนื่องมาจากเส้น แบ่งรูปร่างออกเป็น 2 ประเภทคือ • รูปร่างแบบที่คุ้นตา คือ รูปร่างที่เห็นแล้วรู้ทันทีว่าคืออะไร เช่น ดอกไม้ • รูปร่างแบบ freeform คือ รูปร่างที่สื่อความหมายตามจินตนาการ ไม่มีรูปทรงแน่นอน
รูปทรง ( Form ) • รูปทรง – เป็นรูปร่างที่มี 3 มิติ คือมีความลึก เพื่อสื่อความหมายและอารมณ์ให้กับงานกราฟิกได้มากขึ้น
น้ำหนักกราฟิก ( Value) • เป็นส่วนเสริมที่ทำให้งานกราฟิกมีความเป็นธรรมชาติมากขึ้น และส่งผลต่อการสื่อความหมายและอารมณ์ของการออกแบบกราฟิกได้มากขึ้น เช่น ความหนัก ทึบของสี หรือความโปร่งใส
พื้นผิว ( Texture) • พื้นผิวในงานกราฟิกนั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบคือ • พื้นผิวที่สามารถสัมผัสได้ด้วยมือ • พื้นผิวที่สามารถสัมผัสได้ด้วยตา
สี ( Color ) • สีเกิดจากอะไร • สีเกิดจากแสง = RGB • สีที่เกิดจากหมึกพิมพ์ = CMYK • สีที่เกิดจากธรรมชาติ = แดง เหลือง น้ำเงิน
สีสื่อความหมาย • สีแต่ละสีจะสื่อถึงความหมายที่แตกต่างกันออกไป โดยผู้ออกแบบงานด้านกราฟิกจำเป็นต้องเลือกใช้ให้มีความเหมาะสมกับงานแต่ละประเภท และตรงกับความหมายที่กราฟิกต้องการสื่อออกไป
เทคนิคการนำสีไปใช้งานเทคนิคการนำสีไปใช้งาน • Mono • Complement • Triadic • Analogous • Split Complementary • Tetradic (Double Complementary)
Mono • การใช้สีไปในโทนเดียวกันทั้งหมด เช่น โทนสีเหลือง จุดเด่นของภาพก็จะเป็นสีเหลือง ส่วนอื่นๆ ก็จะใช้สีที่ใกล้เคียงกับสีเหลือง โดยใช้วิธีลดและเพิ่มน้ำหนักความเข้มของสี
Complement • การใช้สีที่ตัดกันหรือสีตรงข้าม เวลาเลือกใช้เทคนิคสีนี้ต้องคำนึงถึงความสวยงามเป็นหลักและการให้น้ำหนักของสี ถ้าสามารถควบคุมสีได้ จะช่วยให้งานมีความเด่นและดึงดูดมากกว่าแบบ Mono
Triadic • การเลือกสี 3 สี ที่มีระยะห่างเท่ากันเป็น สามสีหลักในการออกแบบงานกราฟิก นิยมใช้มากในปัจจุบัน โดยเฉพาะในสื่อสิ่งพิมพ์
Analogous • สีข้างเคียงกัน คือ การเลือกสีใดสีหนึ่งขึ้นมาใช้งานพร้อมกับสีที่อยู่ติดกันอีกข้างละสี หรือ สีที่อยู่ติดกัน 3 สีในวงจรสี
Color Scheme Designer • http://www.colorschemedesigner.com
Typography • Body & Proportion • Format • Font Style
Body & Proportion • Body หมายถึง ตัวอักษรแต่ละตัว • Proportion หมายถึง คุณสมบัติหลักของตัวอักษรแต่ละตัว มี 3 รูปแบบคือ ตัวอักษรปกติ ตัวหนา ตัวเอียง
รูปแบบของตัวอักษร • Serif • ดูเป็นระเบียบ ทางการ เหมาะใช้ในงานที่เป็นทางการ • San Serif • อ่านง่าย ทันสมัย ไม่เป็นทางการมากนัก • Antique • เหมาะกับงานที่ต้องการเน้นความย้อนยุค แสดงความชัดเจนในยุคสมัย • Script • รูปแบบของตัวอักษรที่ไม่เป็นทางการ มีความเป็นกันเอง ดูสนุกสนาน และมีความคล้ายคลึงกับลายมือเขียน
วิธีเลือกใช้งาน FONT • ความหมายต้องเข้ากัน • อารมณ์ของฟอนต์
การวางตำแหน่งตัวอักษรการวางตำแหน่งตัวอักษร • ธรรมชาติการอ่านของคนไทยจะอ่านจากซ้ายไปขวา และบนลงล่าง 1 2 3
การวางตำแหน่งตัวอักษรการวางตำแหน่งตัวอักษร • จุดเด่นควรจะมีเพียงจุดเดียว คือ มีตัวอักษรที่เป็นจุดนำสายตาเพียงจุดเดียว เพื่อให้ชิ้นงานกราฟิกมีความเด่นชัด และดึงดูดความสนใจได้
การวางตำแหน่งตัวอักษรการวางตำแหน่งตัวอักษร • ไม่ควรใช้ฟอนต์หลากหลายรูปแบบจนเกินไป เพราะจะทำให้งานดูไม่เป็นมืออาชีพ อีกทั้งยังเกิดความแตกต่างของตัวอักษรที่ส่งผลต่อการอ่านและขาดความเด่นชัดและดึงดูด