180 likes | 297 Views
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( Knowledge Management) ประจำปี 2556. หัวข้อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้. 1. การจ่ายค่าตอบแทนกรณีจ่ายตรงโดยเงินรายได้ และวิธีการบันทึก รายละเอียดภาษีจากการเบิกจ่าย 2. โครงการการพัฒนาการจ่ายเงินยืมทดรอง ราชการ ( ค่า วารสา ต่างประเทศ ) 3. เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
E N D
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management)ประจำปี 2556
หัวข้อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หัวข้อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. การจ่ายค่าตอบแทนกรณีจ่ายตรงโดยเงินรายได้ และวิธีการบันทึก รายละเอียดภาษีจากการเบิกจ่าย 2. โครงการการพัฒนาการจ่ายเงินยืมทดรองราชการ(ค่าวารสา ต่างประเทศ) 3. เรื่องแจ้งเพื่อทราบ 4. การจัดทำหนังรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายประจำปี 2555 5. การเบิกจ่ายค่าจ้างชั่วคราวเงินรายได้
การจ่ายค่าตอบแทนกรณีจ่ายตรงโดยเงินรายได้การจ่ายค่าตอบแทนกรณีจ่ายตรงโดยเงินรายได้ • การจ่ายตรง • แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ • การจ่ายในรอบระยะเวลาตามประกาศ1155/2552 ข้อ4. • ทุกวันที่12 และ 25 ของทุกเดือนคือค่าตอบแทนที่บุคลากรได้รับเป็น • ประจำรายเดือน เช่น • ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ • ค่าตอบแทนเงินเวร • ค่าตอบแทนเงินประจำตำแหน่ง • ค่าตรวจกระดาษคำตอบ • ค่าตอบแทนการสอน เป็นต้น
การจ่ายค่าตอบแทนกรณีจ่ายตรงโดยเงินรายได้การจ่ายค่าตอบแทนกรณีจ่ายตรงโดยเงินรายได้ • 2. การจ่ายตรงกรณีบุคลากรเป็นผู้มีสิทธิ์ได้รับเงินโดยไม่ต้องรอรอบระยะเวลาตามประกาศ1155/2552 ข้อ4. เช่น • ค่าเดินทางไปราชการ • ค่าตอบแทนการตีพิมพ์ผลงานวิจัย • เงินทุนวิจัย • ทุนการศึกษา • เงินเดือนกรณี ตกเบิก • ค่าใช้สอยในกรณีต่างๆ เช่น ค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าจัดซื้อวัสดุกรณีเร่งด่วน เป็นต้น
วิธีการบันทึกรายละเอียดภาษีจากการเบิกจ่ายวิธีการบันทึกรายละเอียดภาษีจากการเบิกจ่าย
แผนผังการบริการโอนเงินค่าตอบแทนกรณีจ่ายตรงแผนผังการบริการโอนเงินค่าตอบแทนกรณีจ่ายตรง
ข้อควรปฏิบัติในการบันทึกรายละเอียดภาษีจากการเบิกจ่ายข้อควรปฏิบัติในการบันทึกรายละเอียดภาษีจากการเบิกจ่าย • ให้เลือกข้อมูลผู้รับโอนจากทะเบียนเจ้าหนี้เท่านั้น ไม่ควรบันทึกเองเนื่องจากอาจเกิดความคลาดเคลื่อนของเลขประจำตัวผู้เสียภาษีและบัญชีธนาคาร • กรณีไม่พบข้อมูลของบัญชีผู้รับโอน โปรดทำบันทึกข้อความเพื่อขอเพิ่มข้อมูลของผู้รับโอนเงินส่งที่กองคลัง • ให้บันทึกรายละเอียดภาษีจากการเบิกจ่ายก่อนนำส่งเรื่องเบิกจ่ายทุกครั้ง หากตรวจสอบแล้วพบว่าคณะ/หน่วยงานมิได้บันทึก เอกสารชุดเบิกจ่ายนั้นจะถูกส่งคืน ทำให้เกิดความล่าช้าในการเบิกจ่าย • หากประสงค์ที่จะจ่ายตรง ให้ประทับตรายางคำว่า “จ่ายตรง”หากไม่ประทับตราจะถือว่าเป็นการจ่ายเงินคืนคณะและหน่วยงาน
ข้อควรปฏิบัติในการบันทึกรายละเอียดภาษีจากการเบิกจ่าย (ต่อ) • ในช่อง ภงด.1 ห้ามคลิ๊กหรือกระทำการใดๆ เพราะจะมีผลกระทบต่อการนำส่งภาษีเงินได้ประจำเดือนและภาษีเงินได้ประจำปีของบุคลากร
โครงการการพัฒนาการจ่ายโครงการการพัฒนาการจ่าย เงินยืมทดรองราชการ(ค่าวารสารต่างประเทศ)
วัตถุประสงค์ • ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน • จากเดิม ที่ผู้ยืมเงินต้องไปธนาคารเพื่อถอนเงินจากบัญชีตนเองและโอนเป็นค่าวารสารต่างประเทศนั้น • เปลี่ยนเป็น ผู้ยืมเงินส่งเรื่องขอยืมเงินค่าวารสารต่างประเทศให้ งานบริหารการเงิน กองคลัง แล้วรอรับต้นเรื่องเพื่อทำการเบิกจ่ายหักล้างเงินยืม
ขั้นตอนการดำเนินการ • หน่วยเงินยืมรับเอกสารยืมเงินจากคณะ/หน่วยงาน เรื่องยืมเงินค่าวารสารต่างประเทศ ทำการตรวจสอบบันทึกยืมเงินและสัญญายืมเงิน โดยในบันทึกขอยืมเงินค่าวาระสารต่างประเทศนั้น ต้องระบุจำนวนเงินตามสกุลเงินที่แจ้งไว้ในใบแจ้งหนี้(Invoice)และต้องแนบใบแจ้งหนี้มาในชุดเอกสารขอยืมเงิน • หน่วยเงินยืมเสนอเรื่องขอยืมเงินค่าวาระสารต่างประเทศ ให้ผู้มีอำนาจพิจารณาอนุมัติ
ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ) • เมื่อบันทึกการยืมเงินได้รับอนุมัติแล้ว ส่งเรื่องให้หน่วยเงินโอนเพื่อดำเนินการ • หน่วยเงินโอนแจ้งให้ธนาคารดำเนินการโอนเงินให้แก่เจ้าหนี้ที่มีบัญชีธนาคารอยู่ ณ ต่างประเทศ ตามใบแจ้งหนี้และออกหลักฐานการโอนเงินโดยแปลค่าเป็นสกุลเงินบาท ณ วันที่โอนเงิน และส่งต้นเรื่องให้หน่วยเงินยืม • หน่วยเงินยืมจัดทำใบสั่งจ่ายและตั้งลูกหนี้เงินยืมในระบบ KKUFMIS โดยใบสั่งจ่ายจะระบุจำนวนเงินตามยอดเงินโอนที่เป็นสกุลเงินบาท • ส่งต้นเรื่องคืนผู้ยืมเงินเพื่อทำเรื่องเบิกจ่ายและหักล้างเงินยืมต่อไป
1. ระบบแจ้งเตือนค้างชำระเงินยืมทดรองราชการผ่าน e-mail กองคลังได้รับอนุมัติได้พัฒนาการแจ้งเตือนเงินยืมทดรองราชการค้างชำระโดยผ่านระบบE-mail addresskku.ac.th ของผู้ยืมโดยมีการแจ้งเตือนดังนี้ ครั้งที่1 ระบบจะแจ้งเตือนลูกหนี้เงินยืมที่ค้างชำระเงินยืมทดรองราชการก่อนวันครบกำหนด 7 วัน ครั้งที่2 แจ้งทวงค้างชำระเงินยืมทดรองราชการนับแต่วันครบกำหนด
2. การโอนเงิน Bath net • การโอนเงินโดยระบบ Bath net จะโอนในกรณีจำนวนเงินเกิน 2,000,000 บาทขึ้นไป ซึ่งธนาคารคิดค่าธรรมเนียม 250 บาท บวกจำนวนเงินที่โอนคูณ0.1% แต่ไม่เกิน 1,000 บาท ตัวอย่างเช่น โอนเงินจำนวน 2,000,000 บาท ผู้รับเงินจะเสียค่าธรรมเนียม • ค่าธรรมเนียมธนาคาร(Fix cost) = 250 บาท • ค่าธรรมเนียมธนาคาร(2,000,000*0.1%) = 2,000 บาท • รวมค่าธรรมเนียมธนาคาร = 2,250 บาท • ***หมายเหตุ ผู้รับเงิน(เจ้าหนี้การค้า)จะได้เสียค่าธรรมเนียม 1,000 บาท
3. การบันทึกเลขที่ใบส่งของ ให้บันทึกเลขที่ใบส่งของ
การบันทึกเลขที่ใบส่งของ (ต่อ) • ในกรณียืมเงินจากเงินรายได้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้ระบุเลขที่สัญญายืมเงินในช่อง เลขอ้างอิง เช่นใบส่งของ • การบันทึกเลขที่ใบส่งของจะมีผลการแจ้งโอนเงินผ่านอินเตอร์เน็ต และหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
Thank you! งานบริหารการเงิน กองคลัง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น