1 / 18

บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์. Flow Chart . -ภาษาไทย เรียกว่า ผังงาน

bran
Download Presentation

บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

  2. Flow Chart -ภาษาไทย เรียกว่า ผังงาน -เป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้รูปสัญลักษณ์มาเรียงต่อกัน สัญลักษณ์แต่ละแบบจะมีความหมายถึงกระบวนการที่แตกต่างกัน โดยจะมีคำอธิบายสั้นๆเพิ่มเติมในรูปสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในผังงานได้กำหนด โดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (The American National Standard Institute: ANSI)

  3. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการทำ Flow Chart ใช้เป็นการแสดงเริ่มต้นและสิ้นสุด การนำข้อมูล เข้า-ออก การปฏิบัติงาน การตัดสินใจ

  4. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการทำ Flow Chart ทิศทางขั้นตอนการดำเนินงาน จุดเชื่อมต่อผังงานในหน้าเดียวกัน จุดเชื่อมต่อผังงานคนละหน้ากระดาษ

  5. โครงสร้างของการเขียน Flow Chart มี 3 แบบ 3.แบบวนซ้ำ 1.แบบลำดับ 2.แบบทางเลือก

  6. 1.โครงสร้างแบบลำดับ (Sequential Structure) โครงสร้างแบบนี้จะเป็นการทำงานเป็นขั้นตอน เพื่อแก้ไขปัญหาจะทำงานตามคำสั่งที่เขียนไว้ตามลำดับ ตั้งแต่คำสั่งแรกไปจนไปถึงคำสั่งสุดท้าย

  7. 2.โครงสร้างแบบทางเลือก (Selection Structure) ปัญหาบางอย่างต้องการการตัดสินใจ เพื่อเลือกว่าจะใช้วิธีการใด โดยการกำหนดเงื่อนไข ให้เป็นทางเลือกของโปรแกรมซึ่ง จะต้องมีเพียงสองทางเลือกเท่านั้น และ หลังจากนั้นทางเลือกทั้งสองต้องมาพบกัน และทำงานในขั้นตอนต่อไป เงื่อนไข จริง เท็จ ชุดคำสั่งที่ 1 ชุดคำสั่งที่ 2

  8. 3.โครงสร้างแบบวนซ้ำ (Repetition Structure) คือการทำซ้ำ เป็นการเขียน flowchart ให้กลับมาทำงานในขั้นตอนอย่างเก่า จะเห็นว่า flowchart มีลักษณะวน ซึ่งเรียกว่า loop และจะสังเกตว่า การวน loop ดัง รูปที่ 4 จะไม่มีทางออกไปทำงานในขั้นตอนต่อไปได้เลย เพื่อที่จะทำให้ออกจาก loop ได้จะต้องมีการ เช็คเพื่อออกจาก loop ดังจะได้กล่าวต่อไป ชุดคำสั่งที่ 2 ... ชุดคำสั่งที่ 1 เท็จ เงื่อนไข จริง

  9. โครงสร้างแบบการวนซ้ำ มี 2 แบบ เท็จ พิมพ์ค่า a เงื่อนไข จริง พิมพ์ค่า b พิมพ์ค่า a เงื่อนไข พิมพ์ค่า b เท็จ จริง โครงสร้างแบบวนซ้ำแบบ while โครงสร้างแบบวนซ้ำแบบ until

  10. ตัวอย่างของการเขียน Flow Chart Problem : จงเขียน flow chart เพื่อถ่ายทอดความคิดขั้นตอนวิธีในการต้มม่ามารับประทาน

  11. เริ่มต้น ขั้นตอนการต้มมาม่า ซื้อมาม่า -ซื้อมาม่า ฉีกซอง -ฉีกซอง ต้ม -ต้ม -สุกไหม สุก? -รับประทาน รับประทาน จบ

  12. ตัวอย่างของการเขียน Flow Chart Problem : จงเขียน flow chart แสดงการหาค่าเฉลี่ยของจำนวน 5 จำนวน

  13. เริ่มต้น จบ counter←0 sum ←0 print average Input x average ←sum/5 counter<5 counter ←counter+1 sum ← sum+x

  14. การประกาศ library • ส่วนหัวของฟังก์ชั่น • การประกาศตัวแปร • Local ใช้ได้เฉพาะในเฉพาะฟังก์ชั่นนั้นๆ • Global ใช้ได้ในทุกๆ ฟังก์ชั่น

  15. 4. คำสั่งต่างๆ • จะต้องมีการประกาศ library ก่อน • # include <stdio.h> • # include <conio.h> • int main ( ) • { inti , j ; • } 1 2 3 4

  16. การเขียน Flow Chart เบื้องต้น 1.เริ่มจากการเขียนขั้นตอนต่างๆก่อน 2.นำมาขั้นตอนต่างๆมาเขียนเรียงลำดับ พร้อมใส่ทิศทางการทำงาน 3.ใส่สัญลักษณ์ให้ตรงกับคำสั่งชุดนั้นๆ

More Related