1 / 83

การพัฒนาระบบสารสนเทศในงานอุตสาหกรรม (System Development in Industrial)

1. การพัฒนาระบบสารสนเทศในงานอุตสาหกรรม (System Development in Industrial). องค  ประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0. องค  ประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0.

baylee
Download Presentation

การพัฒนาระบบสารสนเทศในงานอุตสาหกรรม (System Development in Industrial)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 การพัฒนาระบบสารสนเทศในงานอุตสาหกรรม (System Development in Industrial) องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0

  2. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • เป็นภาษาระดับ Industrial Strength คือ นำมาพัฒนาเป็นโปรแกรมที่ใช้งานได้จริงในธุรกิจต่าง ๆ และเป็นภาษาที่แพร่หลายที่สุดในโลก • เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ได้รับความนิยมกันมากในปัจจุบัน เนื่องจากมีเครื่องมือ (Tools) อำนวยความสะดวกให้ผู้พัฒนาโปรแกรม ให้สามารถพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนระบบวินโดวส์ได้หลากหลายและสะดวกสบาย ตั้งแต่โปรแกรมขนาดเล็ก ไปจนถึงโปรแกรมที่ทำงานกับฐานข้อมูลได้หลายประเภท รวมไปถึงการทำงานบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

  3. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • ประกอบด้วย 2 ส่วน • Programming environment • เป็นส่วนที่ช่วยให้สร้างโปรแกรมง่ายขึ้น เช่น กล่องเครื่องมือ(tool Box) ที่มีปุ่มต่าง ๆ สามารถนำมาวางบนจอภาพและกำหนดวิธีใช้ โดยไม่ต้องเขียนคำสั่งเลย ซึ่งถือเป็นส่วนสำคัญในการออกแบบโปรแกรม โดยเฉพาะส่วนจอภาพ(user interface) • Language constructs • เป็นส่วนของรหัสคำสั่ง ซึ่งก็เป็นคำหลักที่มีมาตั้งแต่ดั่งเดิม แต่เพิ่มประสิทธิภาพให้มากขึ้น นอกจากนั้นยังมีกลไกในการแบ่งโปรแกรมออกเป็นโปรแกรมย่อย ซึ่งเรียกว่า Subroutine Procedure และ Function Procedure

  4. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • ความสามารถของ VB • เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่เขียนได้ง่าย • ประสานกับผู้ใช้โปรแกรมแบบกราฟิก (GUI) • ประยุกต์เข้ากับฐานข้อมูลได้หลาก หลาย

  5. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • ความสามารถของ VB 5 ขึ้นไป • ทำงานได้เร็วขึ้น • คีย์คำสั่งได้เร็วขึ้นเพราะมีอุปกรณ์ช่วย • ออกแบบฟอร์มได้ง่ายขึ้น • มีเครื่องมือเพิ่มขึ้นมากมาย

  6. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • คำศัพท์ที่ใช้ใน VB ที่ควรรู้ • วัตถุ (Objects) เป็นชิ้นส่วน (Elements) พื้นฐานที่สุดของโปรแกรม ที่มี คุณสมบัติ (Property) และ วิธีการ (Method) เป็นของตัวเอง • คุณสมบัติและวิธีการนี้เอง จะเป็นตัวกำหนดหน้าที่ให้กับวัตถุ และรู้วิธีที่จะตอบสนองเมื่อพบกับเหตุการณ์ (Events) ต่าง ๆ

  7. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • คำศัพท์ที่ใช้ใน VB ที่ควรรู้ • วัตถุควบคุม (Controls) เป็นวัตถุ (Object) ที่ทำหน้าที่ประสานการทำงานให้กับผู้ใช้โปรแกรม (User Inteface) • ตัวอย่าง เช่น กล่องข้อความ (Text box) แถบข้อความ (Label) ปุ่มคำสั่ง (Command button) เป็นต้น

  8. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • คำศัพท์ที่ใช้ใน VB ที่ควรรู้ • เหตุการณ์(Events) เป็นผลที่เกิดจากการกระทำ (Action) ของผู้ใช้โปรแกรม (User) ระบบปฏิบัติการ(OS) หรือตัวโปรแกรมเอง • ตัวอย่างของเหตุการณ์ คือ การเคาะแป้นพิมพ์ การกดเมาส์ การหมดเวลาที่กำหนดไว้ หรือการทำงานครบตามเงื่อนไข เป็นต้น

  9. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • คำศัพท์ที่ใช้ใน VB ที่ควรรู้ • วิธีการ(Methods) เป็นแนวปฏิบัติ ที่กำหนดให้กับวัตถุหนึ่งวัตถุใด ไว้ล่วงหน้าแล้ว ว่า จะต้องทำอะไรบ้างเมื่อมีเหตุการณ์มากระทบ • ตัวอย่างเช่น แบบฟอร์มซึ่งเป็นวัตถุชนิดหนึ่ง มี วิธีการซ่อนตัว (Hide Methods) เมื่อได้รับคำสั่งให้ใช้ วิธีการ นี้ จะทำให้แบบฟอร์มหายตัวไปจากจอภาพ

  10. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • คำศัพท์ที่ใช้ใน VB ที่ควรรู้ • โปรแกรมย่อย (Procedures) เป็นส่วนของโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างหนึ่งอย่างใด ให้สำเร็จ โดยปรกติโปรแกรมย่อยนี้ เขียนขึ้นเพื่อตอบสนองเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น • ตัวอย่างของโปรแกรมย่อยคือ Sub และ Function

  11. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • คำศัพท์ที่ใช้ใน VB ที่ควรรู้ • คุณสมบัติ(Property) เป็นคุณลักษณะประจำตัววัตถุ เช่น ขนาดตำแหน่งสี ฯลฯคุณสมบัติ จะเป็นตัวกำหนด ลักษณะท่าทาง หรือพฤติกรรม ที่แสดงออกของวัตถุ • ผู้เขียนโปรแกรมอาศัยคุณสมบัติของวัตถุนี้เองเป็นแนวทางในการส่งหรือรับข้อมูลจากวัตถุหรือส่งข้อมูลให้กับวัตถุ

  12. Start Visual Basic User interface design (Control used) Properties setting Procedure writing Program testing Make executable program (Compiled) Make application (Application Setup wizard) Documentation องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0

  13. เริ่มตนใชโปรแกรม • คลิกที่เมนู Start • เลือก Programs • เลือก Microsoft visual studio 6.0 • เลือก Visual Basic 6.0

  14. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • ประเภทของงาน • Standard EXEสำหรับพัฒนาโปรแกรมวิชวลเบสิกมารตรฐานทั่วไป • ActiveX EXEสำหรับพัฒนาโปรแกรมที่ใช้กับงานที่มีผู้ใช้คนเดียวหรือใช้ร่วมกันหลายคน • ActiveX DLLสำหรับพัฒนาโปรแกรมประเภทใช้งานร่วมกันหลายคนและมีการคอมไพล์แบบ Dynamic Link Library • ActiveX Controlสำหรับพัฒนาโปรแกรมที่ใช้งานร่วมกับโปรแกรมอื่น • VB Application Wizardเป็นการพัฒนาโปรแกรมโดยอาศัยโปรแกรมช่วยงานต่าง ๆ ทำให้พัฒนาโปรแกรมได้เร็วขี้น

  15. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • ประเภทของงาน (ต่อ) • Addin พัฒนาโปรแกรมโดยใช้ฟังก์ชันสำเร็จของวิชวลเบสิกที่มีอยู่แล้วเช่น Visual Data Manager • ActiveX Documentสำหรับสร้าง DLL ให้ทำงานร่วมกับ Microsoft Internet Explorer • ActiveX Document EXEสำหรับพัฒนาโปรแกรมที่สามารถทำงานใน Microsoft Internet Explorer • VB Enterprise EXEเหมือนกับ Standard EXE แต่จะมีเครื่องมือให้เลือกใช้มากขึ้น

  16. Picture box Label Text box Frame Command button Check box Option button Combo box List box Horizontal scrollbar Vertical scrollbar Timer File list box Dir list box Drive list box Shape Line Image Data control OLE

  17. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • Prefix • cbo • chk • dir • drv • fil • frm • grd • hsb • Control • Combo box • Check box • Directory list box • Drive list box • File list box • Form • Grid • Horizontal scrollbar

  18. Properties ของ Text box

  19. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • การตั้งชื่อ Object • ชื่อควรสื่อความหมาย • ความยาวไม่เกิน 256 ตัวอักษร • ห้ามขึ้นต้นอักษรพิเศษ เช่น $, # และไม่ซ้ำคำสงวน • ห้ามมีที่ว่างระหว่างชื่อ • สามารถใช้ Prefix หน้าชื่อ object ช่วยให้ทราบชนิดของ Object ง่ายในการจดจำ

  20. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • สภาพแวดล้อมโดยรวมของ VBIDE • โหมด MDI • โหมด SDI • การเปลี่ยนสภาพแวดล้อมจาก MDI เป็น SDI

  21. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • โหมด MDI (Multiple Document Interface) • แสดงหน้าต่างในรูปแบบเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมปกติของ VB

  22. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • โหมด SDI (Single Document Interface) • แสดงหน้าต่างที่มีลักษณะเป็นอิสระต่อกัน แต่ยังคงมีความสัมพันธ์กันเหมือน • โหมด MDI แต่จะใช้พัฒนาแอพพลิเคชันอีกชนิดหนึ่ง

  23. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • การเปลี่ยนสภาพแวดล้อมจาก MDI เป็น SDI • เลือกเมนู Tools/Options จะปรากฎไดอะล๊อกบ๊อกซ์ Options

  24. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • การเปลี่ยนสภาพแวดล้อมจาก MDI เป็น SDI • คลิ๊กที่แท็บ Advancedเลือก SDI Development Environment • คลิ๊ก OK • VBIDE จะเปลี่ยนเป็นแบบ SDI ในการรัน VB ครั้งต่อไป

  25. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • การใช้งานคอนโทรลในการสร้างอินเตอร์เฟส • คอนโทรลแต่ละชนิดจะมีหน้าที่ หรือจุดประสงค์ในการนำไปใช้งานต่างกัน • เช่น คอนโทรล CommandButton ใช้สร้างปุ่มกดเพื่อตอบรับ, คอนโทรล OptionButton ใช้สำหรับให้ผู้ใช้มีทางเลือก, คอนโทรล TextBox ใช้รับและแสดงขัอมูลที่ผู้ใช้สามารถแก้ไขได้, คอนโทรล Label ใช้แสดงข้อมูล ที่ผู้ใช้ไม่สามารถแก้ไขได้ เป็นต้น

  26. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • รูปแบบการปรากฏของคอนโทรลแต่ละชนิดบนฟอร์ม • คอนโทรลที่จะต้องใช้งานในทุกๆ แอพพลิเคชันจะมี CommandButton, TextBox, CheckBox, OptionButton, ScrollBar เป็นต้น • คอนโทรลพวกนี้ถือได้ว่าเป็นคอนโทรลคลาสสิค

  27. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • ปรากฎตัวทันทีเมื่อนำมาใช้งาน • หมายถึง สามารถเห็นได้ในขณะที่ออกแบบ ที่เรียกว่า design timeซึ่งคอนโทรลส่วนใหญ่ จะมีลักษณะเช่นนี้ • ไม่ปรากฎตัวเมื่อนำมาใช้งาน • หมายถึง คอนโทรลประเภทที่ไม่สามารถมองเห็นการทำงานในขณะออกแบบได้ และทำงานอยู่เบื้องหลังแอพพลิเคชันซึ่งเป็นเวลาในช่วงของการรันแอพพลิเคชัน ที่เรียกว่า run time • เช่น คอนโทรล Timer, CommonDialog เป็นต้น

  28. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • แนวทางในการออกแบบอินเตอร์เฟสแรก • การออกแบบอินเตอร์เฟส VB สามารถที่จะวาดคอนโทรลได้อย่างอิสระไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว ณ ตำแหน่งใดก็ใด้ที่อยู่ในบริเวณฟอร์ม • องค์ประกอบหลักๆ ของอินเตอร์เฟส จะประกอบไปด้วย เมนู, ToolBar, dialog box ชนิดต่างๆ • เช่น เปิดไฟล์, เซฟไฟล์, พิมพ์งาน เป็นต้น • สิ่งเหล่านี้ VB เตรียมไว้ให้แล้ว ที่เหลือก็ขึ้นอยู่กับว่าจะนำไปใช้งานให้เกิดประสิทธิภาพมากเพียงใด

  29. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • แนวทางในการออกแบบอินเตอร์เฟสแรก • ส่วนประกอบของอินเตอร์เฟส เกิดจากการใช้คอนโทรลชนิดต่างๆ เข้าด้วยกัน • เช่น คอนโทรล CommandButton, Frame, CheckBox เป็นต้น • แต่ไม่จำเป็นที่จะต้องออกแบบอินเตอร์เฟสทุกอย่าง ในแอพพลิเคชันหนึ่งๆ VB ได้เตรียมกลุ่มฟังก์ชันที่ให้คุณเขียนโค้ดเพียงบรรทัดเดียว ก็สามารถเรียกใช้งานได้แล้ว • เช่น message box ที่เตือนให้ผู้ใช้เซฟงาน ก่อนออกจากโปรแกรม, ไดอะล๊อกบ๊อกซ์เซฟไฟล์, เปิดไฟล์ เป็นต้น

  30. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • การนำคอนโทรลมาใช้งาน • วาดอินเตอร์เฟสบนฟอร์ม มี 2 วิธี คือ • 1. คลิ๊กที่ตัวคอนโทรลนั้นๆ บน ToolBox แล้วนำไปวาดบนฟอร์ม สามารถกำหนดความกว้างและความยาวของคอนโทรลได้อย่างอิสระรวมถึงกำหนดตำแหน่งได้เช่นกัน โดยแสดงแบบพิกัด co-ordinate วัดจากมุมซ้ายบนของฟอร์มที่บรรจุอยู่ก็จะวัดจากมุมซ้ายบนของคอนโทรล

  31. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 แสดงขนาดของคอนโทรล

  32. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • การนำคอนโทรลมาใช้งาน • 2. ดับเบิลคลิ๊กที่ตัวคอนโทรลนั้นเลย แล้ว VB จะนำคอนโทรลไปวางบนฟอร์มให้โดยอัตโนมัติ • VB จะตั้งค่า default ไว้ให้คุณทั้งตำแหน่ง และขนาดของคอนโทรล แล้วค่อยแก้ในภายหลัง • สำหรับคอนโทรล CommandButton อาจใช้ขนาด default ที่ VB ตั้งมาไปใช้งานเลยก็ได้ เพราะมีขนาดเหมาะสมอยู่แล้ว

  33. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0

  34. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • พื้นฐานการเขียนโค้ด แสดง editor ของ VB

  35. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • มี 2 วิธีที่คุณสามารถเรียก editor ขึ้นมาใช้งานคือ • ดับเบิลคลิ๊กที่ตัวคอนโทรลนั้นๆ • คลิกที่คอนโทรลนั้น ให้อยู่ในสภาพแอกทีฟ (active) หรือได้รับความสนใจ (focus) แล้วกด F7 • การใช้งาน editor

  36. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • สามารถแยกส่วนต่างๆ ของ editor ออกได้เป็น 3 ส่วนดังนี้ • 1. ส่วน object list box มีหน้าที่แสดงชื่อคอนโทรลหรืออ๊อบเจ็กต์ที่นำมาใช้งานเมื่อเพิ่มคอนโทรลเข้ามาในฟอร์มรายชื่อของคอนโทรล จะถูกเพิ่มเข้ามาโดยอัตโนมัติ • ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงชื่อของคอนโทรล (คุณสมบัติ Name) ชื่อที่ปรากฎอยู่ใน object list box ก็จะเปลี่ยนไปตามชื่อที่ตั้งไว้เช่นกัน

  37. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0

  38. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • 2.ส่วน event list box มีหน้าที่แสดงเหตุการณ์ (event) ของคอนโทรลที่ถูกเลือกใน object list box สนับสนุนอยู่ • event list box จะเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติ เมื่อเปลี่ยนชนิดของคอนโทรลใน object list box ทั้ง 2 ส่วนนี้จะมีความสัมพันธ์กันตลอดเวลา

  39. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0

  40. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • 3. ส่วนการเขียนโค้ด เมื่อเลือกคอนโทรลใน object list box และเลือกเหตุการณ์ใน event list box แล้ว VB จะสร้างโพรซีเดอร์ (procedure) ว่างๆขึ้นมาให้โดยอัตโนมัติ

  41. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0

  42. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • Private เป็นคำสงวนที่กำหนดขอบเขตของโพรซีเดอร์ • Sub เป็นคำสงวนที่บอกชนิดของโพรซีเดอร์ กรณีนี้เป็นแบบซับรูทีน • End Subจบโพรซีเดอร์

  43. องคประกอบพื้นฐานของโปรแกรม Visual Basic 6.0 • Command1 หมายถึงชื่อของอ๊อบเจ๊กต์ หรือคอนโทรล ถ้ามีการเปลี่ยนชื่อ ส่วนนี้จะเปลี่ยนไปเป็นชื่อเดียวกับชื่อที่ตั้งไว้ • _ เครื่องหมายอันเดอร์สกอร์ ใช้แบ่งชื่อของคอนโทรลและเหตุการณ์ออกจากกัน • Click เหตุการณ์ประจำโพรซีเดอร์ หมายความว่าโพรซีเดอร์นี้จะทำงานเมื่อมีการคลิกปุ่ม ที่ชื่อว่า Command1 เท่านั้น • ( ) ในวงเล็บ อาจจะมีรายการตัวแปรที่คุณจำเป็นต้องใช้ในโพรซีเดอร์นี้ ซึ่งเรียกว่า อาร์กิวเมนต์ (arguments) ซึ่งในการใช้งานจริง

More Related