1 / 21

ยาต้านเชื้อบิด (Anticoccidial drugs)

ยาต้านเชื้อบิด (Anticoccidial drugs). เชื้อบิดเป็นปัญหาที่สำคัญ เฉพาะ ใน ไก่ * โค และ สุกร ปกติสามารถพบเชื้อบิดได้ใน สัตว์ที่มีสุขภาพปกติ ในจำนวนที่ไม่มาก เชื้อบิดจะเป็นปัญหาในไก่/ สัตว์ที่เลี้ยงบนพื้นดิน. คุณสมบัติยาที่ใช้ต้านทานเชื้อบิดได้ดี

baxter
Download Presentation

ยาต้านเชื้อบิด (Anticoccidial drugs)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยาต้านเชื้อบิด (Anticoccidial drugs) • เชื้อบิดเป็นปัญหาที่สำคัญ เฉพาะ ใน ไก่ * โค และ สุกร • ปกติสามารถพบเชื้อบิดได้ในสัตว์ที่มีสุขภาพปกติ ในจำนวนที่ไม่มาก • เชื้อบิดจะเป็นปัญหาในไก่/ สัตว์ที่เลี้ยงบนพื้นดิน

  2. คุณสมบัติยาที่ใช้ต้านทานเชื้อบิดได้ดีคุณสมบัติยาที่ใช้ต้านทานเชื้อบิดได้ดี • 1. ประสิทธิภาพสูง ป้องกันเชื้อบิดได้หลายพันธุ์ • 2. ป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรค • 3. ช่วยเพิ่มอัตราการแลกเนื้อ • 4. ไก่กินได้ • 5. สามารถผสมได้กับวัตถุดิบและยาอื่นๆ

  3. คุณสมบัติยาที่ใช้ต้านทานเชื้อบิดได้ดี(ต่อ)คุณสมบัติยาที่ใช้ต้านทานเชื้อบิดได้ดี(ต่อ) • 6. ไม่มีการตกค้างในเนื้อไก่ • 7. ไม่มีผลต่อไข่และการฟักไข่ • 8. มีความคงตัวนานเมื่อผสมในอาหาร • 9. สามารถตรวจสอบ residue ได้

  4. กลุ่มยาที่ใช้ต้านทานเชื้อบิด เช่น 1. Ionophorousantibiotics: นิยมใช้มาก • ยาออกฤทธิ์ต่อเชื้อบิดเกือบทุกชนิด, หลาย stage ของเชื้อ • มีรายงานการดื้อยาน้อยกว่ายากลุ่มอื่น ๆ (1994) • ยาบางชนิดมีผลเพิ่มอัตราการแลกเนื้อ • Therapeutic index ต่ำมาก

  5. 1. Ionophorousantibiotics (ต่อ) :ตัวอย่าง เช่น • Monensin (Coban , Elancoban, Monelan) 100-121 ppm • Lasalocid (Avatec ) 75-125 ppm. • Narasin (Monteban ) 60-80 ppm. • Salinomycin (Baycox , Coxistac , Sacox ) 44-66 ppm. • Maduramcin (Cygro) 5-6 ppm. * ห้ามให้พร้อม anticoccidial drug อื่น ๆ และ ห้ามให้ในช่วง 7 วัน ก่อนหรือการให้ tiamulin

  6. 2. Quinolones • นอกจากจะเป็น antibacterial drug (G- )แล้วยังมีประสิทธิภาพดีเยี่ยมต่อเชื้อบิดชนิดต่าง ๆ • มีความเป็นพิษต่ำ และถูกขับออกจากร่างกายได้เร็ว • * ทำให้ไม่ต้องมีระยะหยุดยาก่อนส่งโรงฆ่า • เพิ่มประสิทธิภาพการแลกเนื้อ • ข้อเสีย คือ เชื้อดื้อยาเร็วกว่ากลุ่มอื่น ๆ • ตัวอย่าง Decoquinate (50 ppm.), Clopidol (125 ppm.)

  7. 3. Sulfonamides • ออกฤทธิ์ดีต่อเชื้อบิดในไส้ติ่ง (cecal coccidiosis) • เชื้อดื้อยาง่าย • มีฤทธิ์ข้างเคียง คือรบกวนเมตาโบลิซึมของ Vit K ทำให้เกิดเลือดออกตามอวัยวะต่าง ๆ และทำให้ไข่ลด • ตัวอย่าง Sulfadimethoxine 125 ppm. • Sulfaquinoxaline 150-200 ppm.

  8. 4. Thiaminederivatives ตัวอย่าง Amprolium • ประสิทธิภาพของยาต่อเชื้อบิดแต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน • ความปลอดภัยสูง ไม่มีผลต่อไข่ และ การฟักไข่ • สามารถใช้ร่วมกับ sulfaquinoxaline อย่างละ 0.006% ให้ผลดี • เหมาะจะใช้ในไก่พ่อพันธุ์, แม่พันธุ์ • ข้อเสีย คือเชื้อดื้อยาง่าย

  9. 5. SubstitutedCarbanilides ตัวอย่าง nicarbazin • ประสิทธิภาพสูงมากต่อเชื้อบิดชนิดต่าง ๆ • เชื้อดื้อยาน้อยมาก (1955-1994) • ข้อเสีย - narrow therapeutic index - ลดอัตราการเจริญเติบโต esp. ไก่ไข่ และมีผลต่อไข่ และการฟักไข่ - มีผลร่วมกับ heat stress • เหมาะจะใช้ในไก่กระทง

  10. การใช้ยาต้านเชื้อบิดมี 2 วัตถุประสงค์ : รักษา หรือ ป้องกันโรค หลักการใช้ยาต้านเชื้อบิดเพื่อการรักษา • เพื่อฆ่าเชื้อ (Coccidiocide) หรือ เพื่อยับยั้งเชื้อ (Coccidiostat) • มีหลายโปรแกรม และชนิดของยา ตัวอย่างเช่น ให้ยาติดต่อกัน 3 วัน (วันแรกให้ dose สูงวันต่อมาลด dose ลงครึ่งหนึ่ง) หรือให้ยาเว้นช่วง เช่น 3-2-3, 2-2-2

  11. ยาที่นิยมใช้มากคือ • Sulfaquinoxaline 1 lb+น้ำ 75 gallon 3 วัน หยุดยา 3 วัน แล้วให้ยาละลายน้ำขนาด 1 lb + น้ำ 12 gallon อีก 2 วัน (3:3:2) • Sulfaquinoxaline 1 lb + อาหาร 500 lb 3 วัน หยุดยา 3 วัน แล้วให้ยาผสมอาหาร 1 lb + อาหาร 500 lb อีก 2 วัน (3:3:2) • Sulfachlorpyrazine ละลายน้ำ ขนาด 1 g/น้ำ 1 litre กินติดต่อกัน 3 วัน หรือให้ยาวันที่ 1-3-5-7-9 หรือให้ 2 วัน เว้น 2 วัน (ไม่มีผลต่อไก่ไข่)

  12. ยาที่นิยมใช้มาก (ต่อ) • Sulfamethoxypyridazine (long-acting Sulfa) 1 g/50/kg S / P / M / V • Amprolium 2.5% ผสมอาหาร 1,000 ppm (ไม่มีผลต่อไก่ไข่) • Toltrazuril 2.5% 1 CC./น้ำ 1 l (25 ppm) 2 วันเว้น 2 วัน แล้วอาจให้ซ้ำอีก 2 วัน ในขนาด 0.00125%

  13. หลักการใช้ยาต้านเชื้อบิดเพื่อป้องกันโรคหลักการใช้ยาต้านเชื้อบิดเพื่อป้องกันโรค • ก. ไก่กระทง • ปกติไก่กระทงมักจะมีการเติมยากันบิด (coccidiostat) • ป้องกันโรคโดยใช้ยาอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะถึงเวลาส่งขาย และจะมีการเปลี่ยนตัวยาผสมอาหารเป็นระยะๆ เพื่อป้องกันการดื้อยา

  14. หลักการใช้ยาต้านเชื้อบิดเพื่อป้องกันโรคหลักการใช้ยาต้านเชื้อบิดเพื่อป้องกันโรค • ข. ไก่ไข่และไก่พ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ • 1. ช่วงอายุที่เหมาะสมต่อการระบาดของโรค คือ 8-10 wk • 2. ถ้าไก่เกิดโรคในช่วง 14-16 wk ทำให้เกิดความล่าช้าในการผลิตไข่ • วิธีการ เริ่มให้ยาผสมอาหารในขนาดป้องกัน ตั้งแต่ลูกไก่เริ่มเกิด เมื่อไก่อายุ 5 wk ปริมาณยาจะค่อย ๆ ลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของขนาดป้องกัน เมื่อไก่ 6-7 wk ทำให้ไก่เป็นโรคอย่างอ่อนๆ เมื่อ 7-8 wk แล้วจึงรักษา autoimmune

  15. ยากำจัดพยาธิภายนอก • ใช้ควบคุมพยาธิภายนอกของสัตว์เลี้ยง • มีอยู่ในหลายรูปแบบ เช่น • - spray ใช้พ่น • - สารละลายใช้ dip • - ราดหลัง pour-on, dust ใช้กับตัวสัตว์ • - กิน (feed additives)

  16. ยากำจัดพยาธิภายนอก • ยาเกือบทุกชนิดเป็นพิษต่อสัตว์และมีผลต่อผลิตภัณฑ์ เช่น นม ไข่ เนื้อ • การใช้ยาควรให้สัมผัสกับพยาธิจะได้ผลดีที่สุด ยกเว้นยาพวกที่สามารถถูกดูดซึม เช่น ยา Ivermectin ที่ใช้ฉีด • ไม่ควรใช้ยาในภาวะลมสงบนิ่ง และอากาศร้อนจัดแม้ว่าสัตว์จะมีสุขภาพดีก็ตาม

  17. ยากำจัดพยาธิภายนอก • พยาธิภายนอกสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท ซึ่งสามารถใช้ยารักษาชนิดเดียวกัน แต่อาจมีความแตกต่างในเรื่องของระยะเวลาที่ควรให้ยา • 1.เห็บ ที่สำคัญในปศุสัตว์คือ • เห็บในโค ชื่อ Boophilus microplusซึ่งเป็นชนิด one-host หากพิจารณาจากวงจรชีวิต ควรให้ยาเมื่อ 0-2-3 อาทิตย์ เห็บตัวแก่(ดูดเลือดเต็มที่) เห็บตัวอ่อน

  18. ยากำจัดพยาธิภายนอก • 2. ไร เป็นสาเหตุของโรคขี้เรื้อนในสัตว์ ไรที่สำคัญในปศุสัตว์มี 2 ประเภท • - ประเภทตัวกลม เช่น Satcoptes scabei ทำให้เกิดขี้เรื้อนแห้งสามารถรักษาได้ง่าย ควรให้ยาทุก 2 อาทิตย์ • - ประเภทคล้ายตัวหนอน คือ Demodex spp. ทำให้เกิดขี้เรื้อนเปียก ควรให้ยาทุกอาทิตย์ติดต่อกัน จนกว่าจะหาย

  19. ยากำจัดพยาธิภายนอก • 3.แมลงกำจัดยากที่สุด หากใช้ยาชนิดที่ออกฤทธิ์เมื่อสัมผัสกับแมลง ควรใช้ยาที่ออกฤทธิ์นาน (long acting) • การใช้ยาฆ่าแมลง • - ควรใช้บนตัวสัตว์ • - ตามสิ่งแวดล้อม โรงเรือน แหล่งเพาะพันธุ์ • การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ • - ราดน้ำมันในแหล่งน้ำเพื่อกำจัดลูกยุง • - กำจัดมูลสัตว์ รื้อสิ่งปูรองเก่าๆ

  20. ยากำจัดพยาธิภายนอก • 4. อื่นๆ เช่น เหา หมัด • - เหากำจัดง่ายที่สุด เนื่องจากต้องอยู่บนโฮสต์เกือบตลอดเวลา

  21. ยากำจัดพยาธิภายนอก • ตัวอย่างยาฆ่าแมลงที่ใช้ • - กลุ่ม Organophosphate เช่น Asuntol, Bayticol • - กลุ่ม Long acting pyrethroid เช่น cypermethrin, flumethrin • - กลุ่มอื่นๆ เช่น amitraz • 3 กลุ่มนี้ใช้ พ่น ทา อาบ • - กลุ่มที่สามารถูดซึมได้ ใช้ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เช่น Ivermectin

More Related