1 / 20

น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus ) ในการควบคุมโรคพืช Clove Oil (Eugenia caryophyllus ) for Controlling Plant Diseas

น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus ) ในการควบคุมโรคพืช Clove Oil (Eugenia caryophyllus ) for Controlling Plant Diseases. กานพลู. ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eugenia caryophyllus (Spreng.) Bullock & Harrison ชื่อพ้อง : E. caryophyllata Thunb

arnav
Download Presentation

น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus ) ในการควบคุมโรคพืช Clove Oil (Eugenia caryophyllus ) for Controlling Plant Diseas

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. น้ำมันกานพลู ( Eugenia caryophyllus )ในการควบคุมโรคพืชClove Oil (Eugenia caryophyllus) for Controlling Plant Diseases

  2. กานพลู ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eugenia caryophyllus (Spreng.) Bullock & Harrison ชื่อพ้อง: E. caryophyllata Thunb Eugenia aromatica Kuntze Syzygium aromaticum (L.) Merr. & Perry ชื่อวงศ์: Myrtaceae ชื่ออังกฤษ :Clove, Clove tree ชื่ออื่นๆ : ดอกจันทน์ (Dok-chan) (เชียงใหม่) จันจี่ (เหนือ) ถิ่นกำเนิด : อินโดนีเซีย มาเลเซีย อินเดีย

  3. กานพลู รูปที่1 ลักษณะดอกแห้ง ดอกสด และ ต้นของกานพลู ที่มา : มูลนิธิสุขภาพไทย  ; พรชัย  2550 และ Kyozaburo Nakata

  4. องค์ประกอบที่พบในน้ำมันหอมระเหยกานพลูองค์ประกอบที่พบในน้ำมันหอมระเหยกานพลู Eugenol รูปที่ 2. โครงสร้างทางเคมีของ Eugenol ที่มา : Web Wikimedia

  5. กลไกการออกฤทธิ์ของสารeugenol ต่อเชื้อจุลินทรีย์ eugenol : ขัดขวางการละลายของชั้นไขมันใน cytoplasmic membrane กลุ่ม hydroxyl (OH group) : ยับยั้งปฏิกิริยาของเอนไซม์ ทำให้โปรตีนภายในเซลล์รวมตัวกัน

  6. การใช้น้ำมันหอมระเหยกานพลูทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืช 1 เกษม และ วิจัย (2528): สมุนไพร 10 ชนิดในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืช ตารางที่ 1 การแสดงค่า EC50 ของกานพลูที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา ที่มา ดัดแปลงจาก เกษม และ วิจัย (2528 )

  7. 2Wilsonและคณะ (1997) • ทดสอบการยับยั้งการงอกของสปอร์ของเชื้อ Botrytis cinereaสาเหตุโรคผลเน่าของผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว • น้ำมันหอมระเหยกานพลูสามารถยับยั้งการงอกของสปอร์ได้ตั้งแต่ความเข้มข้น 0.78 % ที่เวลา 24 ชม.

  8. 3 รวีวรรณ (2542) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อColletotrichum gloeosporioides กานพลู + PDAยับยั้งเชื้อราได้ 100 % ในระดับความเข้มข้นตั้งแต่ 1,000ppm เป็นต้นไป ตารางที่ 2 กรรมวิธีการทดลองและผลการทดลอง ที่มา : ดัดแปลงจากรวีวรรณ (2542)

  9. 4 ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อ Trichoderma harzianumสาเหตุราเขียวในถุงเห็ด • PDA+กานพลู ความเข้มข้น 500 1,000 1,500 2,000 2,500 และ 3,000 ppm • ผลการทดสอบ รูปที่ 3. การเจริญของเชื้อราT. harzianumบน PDA ผสมผงกานพลู ที่ระดับความเข้มข้น 0 (ชุดควบคุม) 500 1000 1500 2000 2500 และ 3000 ppm ที่มา : ดัดแปลงจาก ปริศนา (2548)

  10. ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อ Trichoderma harzianum( ต่อ) • PDA+ กานพลู ความเข้มข้น 500 1,000 1,500 2,000 2,500 และ 3,000 ppm • ผลการทดสอบ e a รูปที่ 4 ลักษณะของสปอร์ T. harzianum เมื่อทดสอบกับกานพลู เป็นเวลา 24 ชั่วโมง (x 300 ) ชุดควบคุม (a) กานพลูที่ระดับความเข้มข้น ต่ำสุดที่ยับยั้งการงอกของสปอร์T. harzianum ( 2,000 ppm ) (e) ที่มา : ดัดแปลงจาก ปริศนา (2548)

  11. ปริศนา (2548) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อสปอร์ของCercospora cruentaOidium sp.และUromyces vignaeสาเหตุโรคใบจุด ราแป้ง และราสนิม แบ่งเป็น 3 การทดลองดังนี้ 1 การทดลองในห้องปฏิบัติการ 2 ในกระถาง 3 แปลงปลูก

  12. ผลการทดลองในห้องปฏิบัติการผลการทดลองในห้องปฏิบัติการ อาหาร WA + กานพลู ความเข้มข้น 500 1,000 1,500 2,000 2,500 และ 3,000 ppm a c e f b d รูปที่ 5 ลักษณะการงอกของสปอร์ C. cruentaOidium sp. U. vignae บนอาหารWA ผสมกานพลู ที่ 0 ppmและความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการงอกของสปอร์ได้ 100 % a , b = C. cruentaที่ความเข้มข้น 0 และ 2,000ppm c , d = Oidium sp.ที่ความเข้มข้น 0 และ 500ppm e , f = U. vignae ที่ความเข้มข้น 0 และ 500ppm ที่มา : ดัดแปลงจาก ปริศนา (2548)

  13. ผลการทดสอบในกระถาง • ฉีดพ่นกานพลูก่อนปลูกเชื้อ ความเข้มข้น 3,000 และ 6,000 ppm • ฉีดพ่นกานพลูหลังปลูกเชื้อ ความเข้มข้น 3,000 และ 6,000 ppm • ผล : ชุดที่ปลูกเชื้อก่อนการฉีดพ่นกานพลูเกิดโรครุนแรงกว่าหลังปลูกเชื้อ ระดับความรุนแรงของโรคเท่ากับ 2.5 ทั้งสองระดับความเข้มข้น

  14. ผลการทดสอบในแปลงปลูก ฉีดพ่น+กานพลู ความเข้มข้น 6,000 และ 3,000 ppmมีระดับความรุนแรงของโรคเท่ากับ 1.07 1.23 2.40 และ 0.97 1.40 2.67 ตามลำดับในแต่ละโรค ตารางที่ 3 ผลการทดสอบในแต่ละความเข้มข้น ที่มา : ดัดแปลงจากปริศนา (2548)

  15. 5สายชล และสมบัติ (2550) : ฤทธิ์ของกานพลูต่อเชื้อรา Fusarium moniliformeในเมล็ดข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 • PDA +กานพลู ที่ความเข้มข้น 100 200 300 400 และ 500 ppm • ผลการทอสอบน้ำมันกานพลูยับยั้งการเจริญของเชื้อราได้ 100 % ที่ความเข้มข้น 400ppmเป็นต้นไป

  16. สายชล และสมบัติ (2550) (ต่อ) การศึกษาในระยะกล้า แบ่งการทดลองเป็น 2 กลุ่ม คือ ทำการทดลองบนกระดาษชื้น ( bloter plate ) นำไปเพาะในดินอบฆ่าเชื้อ ที่มา : Kyozaburo Nakata

  17. ผลการทดลองบนกระดาษชื้น ( bloter plate ) • น้ำมันกานพลูให้ความงอกของเมล็ดสูงถึง 99 % • ลดเปอร์เซ็นต์การติดเชื้อของเมล็ด • เมล็ดมี % การติดเชื้อ = 13.50 • ชุดควบคุมเมล็ดมี % การติดเชื้อ =95.25 แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ • ลดจำนวนต้นกล้าผิดปกติได้ดีที่สุดด้วย

  18. ผลการทดลองในดินอบฆ่าเชื้อผลการทดลองในดินอบฆ่าเชื้อ • น้ำมันกานพลูลดเปอร์เซ็นต์การติดเชื้อของเมล็ด • เพิ่มเปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดในกระถาง = 97.00 % ตารางที่ 4 ผลการทดลอง ที่มา : ดัดแปลงจากสายชล และสมบัติ (2550)

  19. สรุป • สามารถควบคุมจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืช โดยมีสารที่มีฤทธิ์ควบคุม คือ eugenolซึ่งพบถึง 80 % จากองค์ประกอบทั้งหมด • สามารถควบคุมได้หลายชนิดทั้งโรคก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว เช่นBotrytis cinereaFusarium moniliformeและColletotrichum gloeosporioidesเป็นต้น • การนำมาใช้กับผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวมีศักยภาพค่อนข้างสูง • ในห้องปฏิบัติการน้ำหอมระเหยกานพลูสามารถควบคุมการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืชได้ 100 % ที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 400 ppmขึ้นไป • การใช้ในสภาพแปลงยังต้องมีการศึกษาเพิ่มเติม

  20. อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. เสมอใจ ชื่นจิตต์ โดย นางสาวสุภาพร ทองมา ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2

More Related