1 / 20

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา. พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์. ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ แบ่งตามประเภท : ฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, ข้อมูล, ผู้ใช้ แบ่งตามขนาด : คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง, เมนเฟรม, เวอร์คสเตชั่น, พีซี, โน้ตบุ้ค เทคโนโลยีการสื่อสาร มีสาย ไร้สาย เครือข่าย

anchoret
Download Presentation

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์

  2. ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ • แบ่งตามประเภท : ฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, ข้อมูล, ผู้ใช้ • แบ่งตามขนาด : คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง, เมนเฟรม, เวอร์คสเตชั่น, พีซี, โน้ตบุ้ค • เทคโนโลยีการสื่อสาร • มีสาย • ไร้สาย • เครือข่าย • เครือข่ายภายในท้องถิ่น (LAN) • อินเทอร์เน็ต (Internet)

  3. ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ • อุปกรณ์สำนักงานอัตโนมัติ • โปรแกรมพิมพ์, ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ • เครื่องสแกนเนอร์ • ระบบประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ • ฐานข้อมูลและการประมวลผลข้อมูล • การประยุกต์ใช้งาน • ทางสังคม : การศึกษา/สาธารณสุข/บริการประชาชน ฯลฯ • ทางเศรษฐกิจ : ลดกระดาษ, โอนเงิน, พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ

  4. สังคมดิจิทัล (Digital Society) • ไร้คนกลาง (Disintermediation) • การหลอมรวม (Convergence) • นวัตกรรม (Innovation) • ผู้บริโภคร่วมผลิต (Prosumption) • ทันการณ์ (Immediacy) • โลกาภิวัตน์ (Globalization) • ผลข้างเคียง (Discordance) • การใช้ความรู้เป็นสำคัญ (Knowledge) • ระบบดิจิทัล (Digitization) • ระบบเสมือนจริง (Virtualization) • ขับเคลื่อนด้วยหน่วยย่อย (Molecularization) • ระบบบูรณาการและเครือข่าย(Integration/Networking)

  5. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ICT for Learning

  6. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • หมวด 9 : เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา • สื่อ คลื่นความถี่ เพื่อการศึกษา • พัฒนาครู • พัฒนาเนื้อหา • กองทุน • สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา • สิทธิขั้นพื้นฐานในการเข้าถึง

  7. เป้าหมายเชิงนโยบาย • เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา • เครือข่ายการศึกษา • ซอฟต์แวร์และเนื้อหาดิจิทัล • ยกระดับทักษะทางเทคโนโลยีของครูอย่างมีระบบรองรับ • การส่งเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษ • ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ดิจิทัล • ระบบสารสนเทศการศึกษาเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการ • โรงเรียน เทคโนโลยี และชุมชน

  8. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา • ลดความเหลื่อมล้ำของโอกาสทางการศึกษา • เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดาวเทียม ไร้สาย • พัฒนาคุณภาพทางการศึกษา • สื่อ CD-R0M, CAI / นวัตกรรมConstructionism • ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ระดับท้องถิ่นและระดับโลก • ห้องสมุด/คลังดิจิทอล (Digital Library/Archive) • ระบบเสมือนเพื่อการศึกษา (Virtual Reality) • ช่วยงานบริหารการศึกษา • ระบบสารสนเทศโรงเรียน (School Information System)

  9. บทบาทของอินเทอร์เน็ตกับการศึกษาบทบาทของอินเทอร์เน็ตกับการศึกษา • ปรับบทบาทของครูจาก “ผู้สอน” อย่างเดียวมาเป็น “ผู้แนะนำชี้ทาง” (Facilitator) พร้อม ๆ กันไป • นักเรียนเรียนรู้และค้นคว้าด้วยตนเองสะดวกและรวดเร็วมากขึ้นเป็นการเรียนรู้ “เชิงรุก” • พัฒนาการ “สื่อสาร” ระหว่างครูกับนักเรียน ผ่านทาง electronic-mail • ครูและนักเรียนเข้าถึงแหล่งความรู้ของ“ห้องสมุดโลก” โดย ไม่มีข้อจำกัดเรื่องเวลาและสถานที่ มีความเท่าเทียมกันในการรับรู้ข่าวสาร ข้อมูล สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ทั่วโลก

  10. Textbooks & Reading lists Chalk & Talk Class Discussion Help after Class Quarterly Report Cards On School Ground Content Portals & Online Resources Rich Multimedia & Interactive Content Inter-Classroom Collaboration Online Web-based Tutoring on Demand Real-time Student Information System Multiple Location ห้องเรียนยุคบูรณาการ e-Learning Classroom Learning +

  11. Training IT for Education Co-operation Network Content Awareness Networking Equipment Curriculum Modernization Institution Strengthening Infrastructure

  12. โรงเรียนยุคใหม่ : สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ • ห้องสมุดดิจิทัล และ คลังความรู้ • คัดสรรสาระทางการศึกษาที่ดีที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิชาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • เสาะหาความรู้ที่อยู่ในอินเทอร์เน็ต • สร้างสมดุลระหว่างห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และสิ่งแวดล้อมทางเทคโนโลยีในห้องเรียนทั่วไป • ตัวอย่างสิ่งแวดล้อมในห้องเรียน : • คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย โปรเจ็คเตอร์ พรินเตอร์ วีดิทัศน์ วิทยุ โทรทัศน์ • มีสายเชี่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ • ซอฟต์แวร์ และ เนื้อหาเฉพาะวิชา ข้อมูลอ้างอิง การทดลองเสมือน

  13. โรงเรียนยุคใหม่ : การบูรณาการ • ตำรากระดาษ เอกสารการเรียนการสอน • โสตทัศนอุปกรณ์ • ระบบกระจายเสียงหลายสื่อ เคเบิลทีวี • คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ระบบสื่อสารอื่น ๆ • มัลติมีเดีย • ห้องสมุดดิจิทัล และแหล่งทรัพยากรข้อมูลความรู้ • คลังฐานข้อมูลรายวิชา • คลังข้อมูลอ้างอิงและความรู้อื่น ๆ • สื่อสอนภาษา

  14. โรงเรียนยุคใหม่ : บทบาทและความรับผิดชอบ • ผู้บริหารโรงเรียนต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง • ครูปรับบทบาทเป็นผู้แนะนำใกล้ชิดและเตรียมการสอนแบบใหม่ • นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ที่กระฉับกระเฉง • ดึงผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในฐานะผู้สนับสนุน • ดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม • ไอซีทีเป็นเพียงเครื่องมือและแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญ • เติมพลังให้มนุษย์ด้วยเครื่องจักรสมองกลและเทคโนโลยี

  15. โรงเรียนยุคใหม่ : ปัจจัยสำคัญ • โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ • ฝึกอบรมครูTraining training & training • จัดหา ผลิต และใช้เนื้อหาทางการศึกษาการบริหารจัดการความรู้ • ใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการการศึกษา • การบริหารจัดการจริยธรรมยุคดิจิทัล

More Related