530 likes | 676 Views
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะบริหารธุรกิจ ภาควิชาการจัดการ ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ. “ การจัดการด้านภาษีอากร เพื่อการวางแผน เชิงกลยุทธ์สำหรับธุรกิจ SMEs”. โดย.... คุณสุรพล ถวัลยวิชชจิต ผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) และ
E N D
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะบริหารธุรกิจ ภาควิชาการจัดการ ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การจัดการด้านภาษีอากร เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์สำหรับธุรกิจ SMEs” โดย.... คุณสุรพล ถวัลยวิชชจิต ผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) และ กก.ผจก.บ.สำนักงานสอบบัญชี เอส เค แอนแอสโซซิเอทท์จำกัด วันเสาร์ ที่ 11 กันยายน 2547 เวลา 09.00-16.00 น. ห้องสัมมนา 3 อาคาร 9 ชั้น 12
กำหนดการ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการด้านภาษีอากรสำหรับSMEs
แนวทางการจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและลักษณะภาษีอากรแนวทางการจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและลักษณะภาษีอากร
...หน้าที่การบริหาร... • ส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรทำงานร่วมกัน • โดยยึดเป้าหมายเดียวกัน • มีค่านิยมเหมือนกัน • มีโครงสร้างองค์กรที่ถูกต้องเหมาะสม • มีการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรในหลักสูตรที่จำเป็นต่อการทำงาน • ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
...ใครเป็น SME สำหรับภาษีอากร ?... • ทุน 5 ล้าน • ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีภาษีอากร สำหรับบางกรณี • สิทธิพิเศษในการได้รับอัตราภาษีเป็นลำดับขั้น
...ลักษณะธุรกิจครอบครัว......ลักษณะธุรกิจครอบครัว... • ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติมักเป็นบุคคลเดียวกัน • ไม่สามารถแยกได้ระหว่างเงินลงทุนกับเงินจากการประกอบการ • การตัดสินใจยังขึ้นอยู่กับประสบการณ์ในอดีต • มักใช้รูปแบบการบัญชีที่ไม่เป็นมาตรฐานหรือหลักบัญชีที่ไม่ถูกต้อง
...ทำธุรกิจต้องคิดอะไรบ้าง......ทำธุรกิจต้องคิดอะไรบ้าง... • เข้าใจธุรกิจอย่างดี • คิดถึงภาษีที่ต้องจ่าย • รักใช้ข้อมูลทางบัญชี • รู้ดีทางการเงิน • ประเมินศักยภาพคน • ไม่สับสนแนวทางขาย
...ทำธุรกิจต้องคิดอะไรบ้าง…...ทำธุรกิจต้องคิดอะไรบ้าง… • ใช้ IT,R&D สนับสนุน • มีต้นทุนที่ถูก • ผูกสัมพันธ์ลูกค้า • รู้รักษากำไร
บทบาทของผู้บริหารด้านการจัดการภาษีอากรบทบาทของผู้บริหารด้านการจัดการภาษีอากร รับผิดชอบทั้งองค์กร สนับสนุนงานสำหรับการปรับปรุงบัญชี ตั้งคำถามที่เหมาะสมกับผู้บริหารทางบัญชีและนักบัญชี
แนวทางการจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสำหรับการบริหารภาษีอากรแนวทางการจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสำหรับการบริหารภาษีอากร
รูปแบบการบริหารจัดการรูปแบบการบริหารจัดการ การวางแผน การจัดหน่วยงาน การสรรหาบุคลากร การอำนวยการ การควบคุม
การวางแผน • แนวทางการประกอบธุรกิจ,พันธกิจ(Mission), วิสัยทัศน์(Vision) • การจัดรูปแบบการจัดตั้งองค์กร • การหาลูกค้าและการตลาด • การกำหนดค่าใช้จ่ายในครอบครัว • รูปแบบการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร • การประเมินความเสี่ยง
การวางแผน – หลักการเลือกสถานภาพองค์กร เพื่อประโยชน์ทางภาษี • เงินทุน • เงินที่คาดว่าจะได้รับจากการประกอบการ • จำนวนค่าใช้จ่าย • หลักเกณฑ์ในการหักค่าใช้จ่าย • ฐานภาษีและอัตราภาษี • ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก • กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษี
...การวางแผน - รูปแบบการจัดตั้งตามกฎหมาย... • ห้างหุ้นส่วน • ห้างหุ้นส่วนจำกัด • บริษัทจำกัด • บริษัทมหาชน • บริษัทจดทะเบียน
... การวางแผน – การบรรเทาภาระภาษี โดยสิทธิประโยชน์ ... • BOI • EPZ • Bonded Warehouse
...การวางแผน - ความเสี่ยงทางกฎหมายของผู้บริหาร... • สนแต่ไม่รู้ • รู้แต่ไม่สน • ต้องรู้อะไรบ้าง • กม.เฉพาะเรื่องทางธุรกิจ • กม.แพ่งและพาณิชย์ • กม.บัญชี • ประมวลรัษฎากร
...การวางแผน - ภาษีที่(ต้อง)ควรรู้ในธุรกิจของตนเอง... • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • ภาษีเงินได้นิติบุคคล หัก ณ ที่จ่าย / กลางปี / สิ้นปี • ภาษีมูลค่าเพิ่ม • ภาษีธุรกิจเฉพาะ • อากรแสตมป์ • ภาษีสรรพสามิต • ภาษีศุลกากร
รายได้ ค่าใช้จ่าย การลดหย่อนต่างๆ สิทธิหักภาษีได้เพิ่มเติม ฯลฯ ...การวางแผน - ข้อยกเว้นทางภาษีที่สำคัญ...
การจัดหน่วยงาน • การวางแนวทางด้านการสื่อสารภายในองค์กร • การกำหนดอำนาจหน้าที่ในกานบริหารจัดการและการอนุมัติต่างๆ (มีกี่คน, ทำหน้าที่อะไรบ้าง, ดูกี่บริษัท) • การทำความเข้าใจในข้อจำกัดด้านการจัดการของคนใน(เจ้าของ)กับคนนอก(ลูกจ้าง)
...การจัดหน่วยงาน – หน่วยงานที่มีผลกับการ เพิ่ม(ลด)ภาษี... • ฝ่ายจัดการ • ฝ่ายบัญชี • ฝ่ายบุคคล • ฝ่ายขาย • ฝ่ายกฎหมาย • ที่ปรึกษาทางภาษีอากร
การสรรหาบุคลากร • คนใน(ญาติ, ภรรยาหรือสามี, พี่น้อง) • คนนอก • ที่ปรึกษา(การจัดการ, การตลาด, บัญชีและภาษี) • กำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือก • ปริมาณและส่วนผสมระหว่างคนในกับคนนอก • การกำหนดค่าตอบแทนแบบทั่วไป • การกำหนดค่าตอบแทนให้ครอบครัว(ภาษี) • การคัดเลือกผู้นำและการถ่ายโอนอำนาจในอนาคต
การอำนวยการ • การสนับสนุนการดำเนินงาน • การระงับข้อพิพาทใน • บุคคลทั่วไป • บุคคลในครอบครัว • การวัดผลและการประเมินผลการดำเนินงาน
การควบคุม • การวิเคราะห์ความเสี่ยง • การตั้งคำถามที่เหมาะสม • การวิเคราะห์งบการเงิน • การคาดการณ์ในอนาคต
การควบคุม-ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับภาษีการควบคุม-ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับภาษี • เบี้ยปรับ • เงินเพิ่ม • ค่าปรับทางอาญา • โทษอาญา
การควบคุม-คำถามที่ควรถามเกี่ยวกับภาษีการควบคุม-คำถามที่ควรถามเกี่ยวกับภาษี • หน่วยงานใดทำหน้าที่จัดเก็บ • กำหนดให้บุคคลใดเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี • กำหนดจัดเก็บจากฐานภาษีใด • อัตราเท่าใด • มีวิธีการชำระภาษีอย่างไร • กำหนดการยกเว้นภาษีอากรอย่างไร
การควบคุม-คำถามที่ควรถามเกี่ยวกับภาษีการควบคุม-คำถามที่ควรถามเกี่ยวกับภาษี • มีบทกำหนดโทษอย่างไร • มีวิธีการขจัดข้อโต้แย้งทางภาษีอย่างไร • มีวิธีการที่จะป้องกันความเสี่ยงไม่ให้เกิดขึ้นอย่างไร
ผลกระทบของประเภทรายการธุรกิจที่มีต่อภาษีอากรผลกระทบของประเภทรายการธุรกิจที่มีต่อภาษีอากร
...ข้อมูลได้มาจากบัญชี......ข้อมูลได้มาจากบัญชี... • รายงานของผู้สอบบัญชี • บอกอะไรได้ • งบดุล • คืออะไร • งบกำไรขาดทุน • คืออะไร • หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บัญชีที่ควรสนใจในงบการเงินบัญชีที่ควรสนใจในงบการเงิน • เงินสดและเงินฝากธนาคาร • ลูกหนี้การค้า • ลูกหนี้เงินให้กู้ยืมแก่กรรมการ • สินค้าคงเหลือ • ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
...บัญชีที่ควรสนใจในงบการเงิน......บัญชีที่ควรสนใจในงบการเงิน... • เงินกู้ยืมจากธนาคาร • เจ้าหนี้เงินกู้ยืมจากกรรมการ • ทุนจดทะเบียน • รายได้ • ดอกเบี้ยรับ • เงินเดือน • ค่าน้ำ,ค่าไฟฟ้า
...บัญชีที่ควรสนใจในงบการเงิน.......บัญชีที่ควรสนใจในงบการเงิน.... • ค่ารับรอง • ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย • ค่าใช้จ่ายเดินทาง • ค่าการกุศลและเงินบริจาค • ดอกเบี้ยจ่าย • ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
แนวทางการแก้ไขโดยการจัดการธุรกิจที่มีต่อภาษีอากรแนวทางการแก้ไขโดยการจัดการธุรกิจที่มีต่อภาษีอากร
...การบริหารจัดการเกี่ยวกับภาษีอากร......การบริหารจัดการเกี่ยวกับภาษีอากร... • การจัดวางองค์กรและการจัดสรรบุคลากร • แผนกบัญชีควรเตรียมอะไรบ้าง • ข้อมูลทางภาษีใหม่ๆมีอะไรบ้างที่สำคัญโดยการอบรมภายนอกและภายในองค์กร • การควบคุมและการสั่งการ • จัดสรุปประเด็นความเสี่ยงทางภาษีอากรในแต่ละไตรมาสหรือทุกเดือนกรณีสำคัญมาก • สรุปรายงานและบันทึกแนวทางป้องกันและสอบทานเป็นระยะๆ
การวางแผน - ข้อมูลได้มาจากบัญชี มองการจัดการธุรกิจอย่างสรรพากร รายงานของผู้สอบบัญชี งบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงินที่สำคัญ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน ...การบริหารจัดการเกี่ยวกับภาษีอากร...
...การใช้หลักการประหยัดภาษี......การใช้หลักการประหยัดภาษี... • TAX EVASION • TAX AVOIDANCE
...มองภาษีอย่างสรรพากร......มองภาษีอย่างสรรพากร... • รายได้(อาศัยหลักเกณฑ์) • ที่ตั้ง สาขา • กำไรสุทธิ • การวิเคราะห์แบบนำส่งภาษี • การวิเคราะห์งบการเงิน • อัตราส่วนทางการเงิน • การขอคืนภาษีอากร • การตรวจสอบภาษีอากร
...บริษัทไหนดีกว่ากัน ?... บริษัท ข 4,000,000 300,000 350,000 บริษัท ก รายได้ 20,000,000 กำไรสุทธิ 1,000,000 ทุน 10,000,000
อัตราส่วนทางการเงินและข้อมูลที่สำคัญอัตราส่วนทางการเงินและข้อมูลที่สำคัญ • การเปรียบเทียบตัวเลขเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ • อัตราส่วนทุนหมุนเวียน(Current Ratio) • อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนหรือส่วนของผู้ถือหุ้น(Debt/Equity) • อัตราส่วนกำไรขั้นต้น(Gross Profit Margin) • อัตราส่วนกำไรต่อยอดขาย(สำหรับก่อนดอกเบี้ยและภาษี)(Operation Profit Margin) • ระยะเวลาการเก็บหนี้โดยเฉลี่ย(Average Collection Period) • ระยะเวลาให้สินเชื่อ(Credit Term)
อัตราส่วนทางการเงินและข้อมูลที่สำคัญอัตราส่วนทางการเงินและข้อมูลที่สำคัญ • อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง(Inventory Turnover) ต้นทุนขาย/สินค้าคงเหลือ • จำนวนภาษีที่เสียในแต่ละปีและแต่ละประเภท
...การขอคืนอากร... • เมื่อเสียภาษีเกิน • เมื่อเสียผิดประเภท • เมื่อไม่ต้องเสีย • ทั้งหมดนี้ต้องตรวจสอบก่อนคืนเสมอ
...การตรวจสอบภาษีอากร... • ขอเอกสารไม่เกิน 3 ปีย้อนหลังสำหรับการตรวจสอบ • ตรวจเพื่อสำรวจสภาพ • ตรวจเพื่อการแนะนำ • ตรวจเพื่อประเมินภาษี • รูปแบบมีลักษณะทีมกำกับดูแล
ข้อควรพิจารณาในทางปฏิบัติที่มักผิดพลาดข้อควรพิจารณาในทางปฏิบัติที่มักผิดพลาด • ค่าเดินทางและค่าน้ำมันรถ • ค่าโทรศัพท์ • ใช้ใบเสร็จที่ไม่ถูกต้อง • ฯลฯ • เงินมัดจำรับ • เงินมัดจำจ่าย • เงินประกันการเช่า • เงินมัดจำป้ายแดง • เงินรับล่วงหน้า • ค่าใช้จ่ายจากบัตรเครดิต • ค่าสมาชิกกอล์ฟ • ค่าที่พักอาหารและเบี้ยเลี้ยง
กรณีศึกษา 1 (สมมติจากเหตุการณ์จริงได้) • บริษัททำธุรกิจซื้อมาขายไปในประเทศ • เจ้าของบริหารกิจการเองและให้เช่าสำนักงานเป็นที่ทำการ • มีพนักงานทั้งหมดรวมฝ่ายขายแล้ว 20 คน • ดำเนินกิจการมาแล้ว 3 ปี • เจ้าหน้าที่สรรพากรขอข้อมูล 3 ปีย้อนหลัง • ให้ตั้งคำถามหากท่านเป็นสรรพากร(กลุ่มA) • ตั้งข้อสังเกตว่าค่าใช้จ่ายขายและบริหารที่เกิดขึ้นสาเหตุมาจากอะไรได้บ้าง(กลุ่ม A) • ท่านจะป้องกันความเสี่ยงอย่างไรในฐานะของผู้บริหาร(กลุ่ม B)
ข้อมูล 3 ปีย้อนหลัง รายการ ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ยอดขาย 700,000 750,000 800,000 ต้นทุนขาย 600,000 610,000 590,000 กำไรขั้นต้น 100,000 140,000 210,000 เงินเดือน 28,970 30,000 32,950 ค่าใช้จ่ายในการ ขายและบริหาร 45,000 95,000 295,000 ดอกเบี้ยจ่าย 15,000 40,000 100,000
พิจารณาข้อมูลจากงบดุลเปรียบเทียบพิจารณาข้อมูลจากงบดุลเปรียบเทียบ จัดทำการเปรียบเทียบตัวเลขที่เปลี่ยนแปลงและอัตราส่วนทางการเงิน ให้ตั้งคำถามหากท่านเป็นสรรพากร(กลุ่ม A) ให้เตรียมคำตอบสำหรับคำถามที่อาจมีขึ้น(กลุ่ม B) กรณีศึกษา 2
งบดุล(พันบาท) 25462547 เงินสด 8 10 ลูกหนี้การค้า 15 20 สินค้าคงเหลือ2225 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน4555 ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ 50 55 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม1520 ที่ดินอาคารและอุปกรณ์-สุทธิ 35 35 สินทรัพย์อื่น1210 รวมสินทรัพย์ 92100
งบดุล(พันบาท) 25462547 เจ้าหนี้การค้า 10 12 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 7 8 เงินกู้ระยะสั้น 55 รวมหนี้สินหมุนเวียน 22 25 หนี้สินระยะยาว1515 รวมหนี้สิน 37 40 ทุนจดทะเบียน5560 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น92100
กำไรขาดทุน(พันบาท) 2547 ค่าขาย 175 ต้นทุนขาย105 กำไรขั้นต้น 70 ค่าเสื่อมราคา 5 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 20 ค่าใช้จ่ายในการขาย26 รวมค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน51 กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี 19 ดอกเบี้ยจ่าย3 กำไรก่อนภาษี 16 ภาษี 8 กำไรสุทธิ8
อัตราส่วนของอุตสาหกรรมอัตราส่วนของอุตสาหกรรม Current Ratio 2.5 Average Collection Period 30 Inventory Turnover 6 Fixed Asset Turnover 7 Debt/Equity ratio 1
ให้ตั้งคำถามหากท่านเป็นสรรพากร(กลุ่มA)ให้ตั้งคำถามหากท่านเป็นสรรพากร(กลุ่มA) ตั้งข้อสังเกตว่าค่าใช้จ่ายขายและบริหารที่เกิดขึ้นสาเหตุมาจากอะไรได้บ้าง(กลุ่ม A) ท่านจะป้องกันความเสี่ยงอย่างไรในฐานะของผู้บริหาร(กลุ่ม B) กรณีศึกษา 3