1 / 80

การใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ นำเสนอที่ประชุม วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553

การใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ นำเสนอที่ประชุม วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 ณ โรงแรมกิจตรงวิลล์ จังหวัดอุบลราชธานี. นายวัชรชัย ครองใจ กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง. หัวข้อนำเสนอ. ระบบการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การใช้ประโยชน์ระบบเฝ้าระวัง แนวทางการเผยแพร่ข้อมูล

Download Presentation

การใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ นำเสนอที่ประชุม วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพการใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ นำเสนอที่ประชุม วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 ณ โรงแรมกิจตรงวิลล์ จังหวัดอุบลราชธานี นายวัชรชัย ครองใจ กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง

  2. หัวข้อนำเสนอ • ระบบการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา • การใช้ประโยชน์ระบบเฝ้าระวัง • แนวทางการเผยแพร่ข้อมูล • การพัฒนาระบบการเตือนภัย

  3. การดำเนินงานกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005) ร่วมมือกับนานาชาติในการเฝ้าระวังและรายงานภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern, PHEIC) พัฒนาขีดความสามารถของประเทศ ๔ ด้าน ในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ด้านการเฝ้าระวังสอบสวนโรค ด้านการดูแลผู้ป่วยโรคติดต่ออันตราย ด้านห้องปฏิบัติการ ด้านช่องทางเข้าออกประเทศ 3

  4. ข้อกำหนดกฎอนามัยระหว่างประเทศ ระดับท้องถิ่นและ/หรือระดับต้น (Local community level and/or Primary public health response level) ต้องพัฒนาสมรรถนะหลักในด้าน • การตรวจจับเหตุการณ์ (Detect events) การป่วย หรือตายที่ผิดปกติ • การรายงานข้อมูลที่สำคัญ (Notify) ได้แก่ ลักษณะทางคลินิก • ผลLAB แหล่งโรคชนิดความเสี่ยง จำนวนผู้ป่วยและผู้ตาย เงื่อนไขที่ทำให้ระบาดและมาตรการทางสาธารณสุขที่ดำเนินการ ข้อมูลส่วนใหญ่ได้จากการสอบสวนโรค • การควบคุมโรคขั้นต้นทันที (Initial control)

  5. Event-based SurveillanceเสริมกับCase-based Surveillance ที่มา: มาตรฐานและแนวทางปฏิบัติทีม SRRT 2552 สำนักระบาดวิทยา

  6. ระบบเฝ้าระวังฯ 5 ระบบหลัก 16+ ระบบย่อย 1 ระบบร่วม การติดเชื้อ+พฤติกรรม(กลุ่มหญิงบริการ, เข้าถึงยาก) ระบบเฝ้าระวัง NCD พฤติกรรมเสี่ยงในนักเรียน พฤติกรรมที่สัมพันธ์การติดเชื้อ โรคติดต่อจากภัยธรรมชาติ TB (ร่วมกับ สปสช.) การติดเชื้อ (ความชุก,รายใหม่, ดื้อยา) ระบบเฝ้าระวัง โรคเอดส์ (รง.506/1) AEFI ระบบเฝ้าระวัง โรคติดต่อ (รง.506 + รง. เร่งด่วน) AFP รง. 19 สาเหตุ แม่สู่ลูก ต่างด้าวและศูนย์พักพิง ระบบเฝ้าระวังEnOcc (รง.506/2) ระบบเฝ้าระวัง การบาดเจ็บ (แบบ IS) รง. จมน้ำ ตกน้ำ EID : SARS พิษแมง กะพรุน เฝ้าระวังเหตุการณ์ (Events) EID : ไข้หวัดนก รง. ความรุนแรงภาคใต้ EID : ไข้หวัดใหญ่2009

  7. วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวังวัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวัง • ติดตามดูแนวโน้มของโรคและภัยสุขภาพ • ตรวจจับการระบาดได้ • อธิบายข้อมูลทางระบาด และปัจจัยเสี่ยง • บอกแนวทางในการป้องกันควบคุมโรค

  8. คุณลักษณะของระบบเฝ้าระวังที่ดีคุณลักษณะของระบบเฝ้าระวังที่ดี • ได้ข้อมูลที่รวดเร็ว มีคนวิเคราะห์ติดตามตลอดเวลา • มีการสอบสวนเพื่อยืนยันความถูกต้อง และได้ข้อมูลเชิงลึก • ได้นำไปใช้ประโยชน์ • ใช้ทรัพยากรพอเพียง • ดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง

  9. การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (Epidemiological Surveillance) วิเคราะห์ ตรวจสอบ แปลผล บอก/เตือนผู้เกี่ยวข้อง • รวบรวมข้อมูล • ป่วย/ตาย • ห้องปฎิบัติการ • พฤติกรรม • ประชากร • ยา • ข่าวการระบาด • อื่นๆ • Action • สอบสวนรายละเอียด • สร้าง มาตรการแก้ปัญหา • พัฒนาการเฝ้าระวัง

  10. การเฝ้าระวังเหตุการณ์(Event-based surveillance) หมายถึง การรับแจ้งเหตุการณ์ผิดปกติอย่างรวดเร็วโดยมีการจัดการที่เป็นระบบ เพื่อให้ได้ข่าวสารข้อมูลการเกิดโรคและภัยสุขภาพ จากแหล่งข่าวชนิดต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ และมีการตอบสนองที่รวดเร็ว ช่วยเสริมประสิทธิภาพการเฝ้าระวังโรคในระบบปกติ (Case-based หรือ Indicator-based surveillance) เช่น รง. 506 ซึ่งเป็นระบบมาตรฐานและรับข้อมูลจากสถานพยาบาลและหน่วยงานต่างๆอย่างเป็นทางการ

  11. คำถามที่น่าถาม ให้แจ้งข่าวหรือรายงานโรคไปเพื่ออะไร? 1 จะให้แจ้งโรค หรือ แจ้งกลุ่มอาการอะไรบ้าง? 2 เมื่อไหร่ถึงควรจะแจ้ง? 3 นอกจากการแจ้งข่าวแล้ว เขาควรทำอะไรอีก? 4 แล้วเราจะตอบสนองต่อข่าวที่ได้รับแจ้งอย่างไรดี? 5 11

  12. คำถามที่ต้องตอบเมื่อรับข่าวคำถามที่ต้องตอบเมื่อรับข่าว เหตุการณ์ร้ายแรงหรือไม่ ข่าวเชื่อถือได้หรือไม่ แพร่ระบาดได้เร็วหรือไม่ เป็นประเด็นการเมืองหรือไม่ ปัญหาสุขภาพนี้ ผิดปกติหรือไม่ มีความกังวลในระดับนานาชาติหรือไม่ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจหรือไม่ ที่มา: Dr.Marjorie P. Pollack, ProMed Mail

  13. การประเมินสถานการณ์เบื้องต้นการประเมินสถานการณ์เบื้องต้น ประเมินว่าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นจริงหรือไม่ เช่น ประเมินจากความน่าเชื่อถือของผู้แจ้งข่าว ตรวจสอบจากแหล่งข่าวอื่นๆมากกว่าหนึ่งแหล่ง เหตุการณ์ร้ายแรงหรือไม่ (เช่น มีโอกาสแพร่กระจายในวงกว้าง มีผู้มีอาการรุนแรงหรือเสียชีวิต ไม่เคยพบมาก่อนในพื้นที่) ต้องรีบดำเนินการหรือไม่ และต้องดำเนินการอย่างไรบ้าง โดยแยกเป็นเหตุการณ์ที่ไม่ต้องดำเนินการ เหตุการณ์ที่แก้ไขเองได้ และเหตุการณ์ที่ต้องได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือ เช่นแจ้งเทศบาล สาธารณสุขอำเภอ

  14. ประโยชน์ของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ประโยชน์ของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ พบเหตุการณ์ผิดปกติ หรือการระบาดได้เร็วขึ้น ขณะที่ปัญหายังไม่ลุกลาม ข้อมูลข่าวสารที่ได้นำไปสู่การแก้ไขปัญหาโดยเร็ว มีฐานข้อมูลเหตุการณ์ผิดปกติเพื่อวางแผนในการป้องกันควบคุมโรค เสริมกับระบบรายงาน 506

  15. International Health Regulation -2005 ใช้ตัดสินใจในการแจ้งในกรณีที่เกิด Public health event ในกรณี • ผลกระทบของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมีอันตรายต่อสุขภาพรุนแรงหรือไม่ • เหตุการณ์นั้นเกิดโดยไม่คาดฝัน หรือผิดปกติหรือไม่ • เสี่ยงในการแพร่กระจายระหว่างประเทศหรือไม่ 4. มีผลต่อการจำกัดต่อการเดินทางหรือค้าขายหรือไม่

  16. ธรรมชาติการเกิดโรค ผู้ป่วยส่วนน้อยที่มารักษาที่สอ. หรือโรงพยาบาล ผู้ป่วยจำนวนมากที่อยู่ในชุมชนไม่ได้มารักษาที่โรงพยาบาล หรือผู้เป็นผู้ติดเชื้อ

  17. ปัญหาการเฝ้าระวังโรคในระบบปกติปัญหาการเฝ้าระวังโรคในระบบปกติ ตัวอย่างผู้ป่วย 5 รายในการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง รายที่ 2 รายที่ 1 รพ. รายที่ 3 รายที่ 5 รายที่ 4 รพ.เอกชน สำนักระบาดวิทยา ดัดแปลงจากDr.Marjorie P. Pollack, ProMed Mail

  18. แหล่งข่าวชนิดต่างๆ บุคคลในชุมชน (Community) เช่น อสม อบต ครู อาสาสมัครปศุสัตว์ตำบล สื่อมวลชน (Media) ผู้ดำเนินรายการวิทยุชุมชน และแหล่งข้อมูลข่าวสารในอินเตอร์เนต บุคลากรทางแพทย์และสาธารณสุข (Health care workers) ทั้งภาครัฐและเอกชน

  19. ประเภทของเหตุการณ์ผิดปกติประเภทของเหตุการณ์ผิดปกติ • เหตุการณ์การเกิดโรคในคน เช่น พบผู้ป่วยหลายคนพร้อมกัน หรือมีการตายผิดปกติไม่ทราบสาเหตุ 1.1 โรคหรือกลุ่มอาการทั่วไปที่พบบ่อย 1.2 โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่ • เหตุการณ์ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงอาจจะเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในคน เช่น สัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติ อาหารปนเปื้อน ระดับมลพิษในสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นรวดเร็ว

  20. โรคหรือกลุ่มอาการทั่วไปที่พบบ่อยโรคหรือกลุ่มอาการทั่วไปที่พบบ่อย • หมายถึง โรคประจำถิ่นหรือกลุ่มอาการที่ประชาชนรู้จักดี และ • พบบ่อยในชุมชน ตัวอย่างเช่น • ไข้เลือดออก • อุจจาระร่วง ซึ่งอาจจะเกิดจากอาหารเป็นพิษ • โรคไข้หวัดใหญ่ ที่พบการระบาดตามฤดูกาล • โรคฉี่หนู (ซึ่งเป็นโรคประจำถิ่นในภาคอีสาน)

  21. ตัวอย่างการระบาดของโรคอุจจาระร่วงตัวอย่างการระบาดของโรคอุจจาระร่วง

  22. โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่ • หมายถึง โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบมาก่อนหรือไม่เป็นที่รู้จักในพื้นที่ • ตัวอย่างเช่น • ป่วยเสียชีวิตโดยไม่รู้สาเหตุ • โรคฉี่หนูที่เกิดขึ้นในพื้นที่ใหม่ครั้งแรก • โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) ในพื้นที่ใหม่ • โรคสัตว์สู่คน เช่น พิษสุนัขบ้า

  23. ตัวอย่างการพบการระบาดของโรคชิคุนกุนยาตัวอย่างการพบการระบาดของโรคชิคุนกุนยา ชาวบ้านในหมู่บ้านชนบท มีอาการไข้ ปวดข้อ และออกผื่น พร้อมกันหลายคน ไปรับการรักษาที่สอ. คลินิกแพทย์ และซื้อยากินเอง

  24. เหตุการณ์ที่อาจจะเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในคนเหตุการณ์ที่อาจจะเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในคน • หมายถึง เหตุการณ์ที่ส่งอาจจะผลต่อการเกิดโรคในคน อาจจะเป็นสัตว์ป่วยตายผิดปกติ อาหารปนเปื้อน ระดับสารพิษในสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น • ไก่ตายจำนวนมากในหมู่บ้าน • ปลาตายลอยเป็นแพในคลอง • สารเคมีรั่วจากโรงงาน

  25. ตัวอย่างเหตุการณ์ผิดปกติในสัตว์และสิ่งแวดล้อมตัวอย่างเหตุการณ์ผิดปกติในสัตว์และสิ่งแวดล้อม

  26. หัวใจของความสำเร็จระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์หัวใจของความสำเร็จระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ “ทุกเหตุรายงาน มีความหมาย ต้องตอบสนอง”

  27. ข้อมูลเกี่ยวกับการป่วย (1) ส่วนใหญ่มีอาการอะไร ได้รับการวินิจฉัยว่าอย่างไร วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรกและรายสุดท้าย มีผู้ป่วยทั้งหมดกี่ราย และมีผู้เสียชีวิตหรือไม่ กี่ราย

  28. ข้อมูลเกี่ยวกับการป่วย (2) เป็นเพศชาย เพศหญิงกี่ราย (อาจเป็นจำนวนโดยประมาณ) ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอายุไหน เกิดการระบาดที่ไหน มีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่ (เช่น อยู่บ้านเดียวกัน ไปกินในงานเลี้ยงเดียวกัน) ยังมีแนวโน้มจะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอีกหรือไม่

  29. การสอบสวนโรคเบื้องต้น (ถ้ามี) • สิ่งที่อาจเป็นปัจจัยเสี่ยง(ในกรณีที่มีข้อมูล) เช่น ไปกินงานเลี้ยงเดียวกัน หรือโดนหมาบ้ากัด เป็นต้น • การค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม พบจำนวนเท่าไหร่ เป็นใครบ้าง • ผู้ที่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน • ผู้ที่ทำงานด้วยกัน หรือถ้าเป็นเด็กนักเรียนก็เป็นเด็กที่อยู่ในกลุ่มที่เล่นใกล้ชิดกัน • เพื่อนบ้าน

  30. การควบคุมโรคเบื้องต้นที่ทำไปแล้วการควบคุมโรคเบื้องต้นที่ทำไปแล้ว ได้ทำอะไรไปแล้วบ้าง โดยหน่วยงานไหน ผลเป็นยังไง

  31. การเฝ้าระวัง 2 ระบบ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพงาน • 1. การเฝ้าระวังโดยรายงานผู้ป่วย • 2. การเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ ผู้ป่วยที่มารับบริการที่ สอ./รพ.สต. • เหตุการณ์ผิดปกติเกี่ยวกับสาธารณสุข รายคน รายเหตุการณ์ เก็บวิเคราะห์แปลผล แจ้งตรวจสอบรายงาน สัญญาณภัย ประเมิน และสอบสวน มีความสำคัญสาธารณสุข กระจายเผยแพร่ ควบคุมโรค ที่มา:สำนักระบาดวิทยาดัดแปลงจาก ECDC

  32. เป้าหมายผลผลิตและผลงานเด่นปี 2553 กลุ่มระบาดวิทยา ระบบรายงานเฝ้าระวังโรค/ภัยสุขภาพ • การนำเสนอข้อมูลสถานการณ์โรคจากระบบรายงายงาน 506ด้วย GIS บน Website http://www.dpc7.net/http://epid.dpc7.net/ • ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ จำนวน 7เรื่อง (เป้าหมาย6เรื่อง) • การแจ้งเตือนสถานการณ์โรค/ภัยสุขภาพสำหรับผู้บริหารด้วย ระบบSMS • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์นำเสนอสถานการณ์โรค/ภัยสุขภาพด้วยLCD

  33. การพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ด้านระบาดวิทยาสคร.7 อุบลราชธานี เปิดตัวเป็นทางการงานระบาดวิทยาแห่งชาติ 22พ.ย.53 ณ จังหวัดระยอง

  34. ที่มา… • ทำอย่างไรบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ ในเขต สคร. 7 อุบลราชธานี ที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังโรคจะสามารถใช้ข้อมูลหรือสารสนเทศจากฐานข้อมูล R506 (Information Sharing) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ? • เงื่อนไข ? • ต้องสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ทุกเวลา(Easy To Access) • ต้องสามารถนำเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศทั้งในเชิงพื้นที่และแผนภูมิ(Easy To Use)

  35. ที่มา…(ต่อ) • เงื่อนไข ? • ต้องไม่สร้างข้อมูลหรือสารสนเทศขึ้นมาใหม่(No Reproduce) • ต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสม(Valid),ครบถ้วน(Complete) และเป็นปัจจุบัน(Up to date)

  36. หน้าเว็ปไซต์ www.dpc7.net GIS

  37. การเผยแพร่ข้อมูลระบบเฝ้าระวังของ สคร.7 http://epid.dpc7.net

  38. การเผยแพร่ข้อมูลระบบเฝ้าระวังของ สคร.7

  39. การเผยแพร่ข้อมูลระบบเฝ้าระวังของ สคร.7 http://epid.dpc7.net

  40. ข้อมูลรายโรค ย้อนหลัง 5 ปี จำแนกรายโรค ย้อนหลัง 5 ปี ส่งออกข้อมูล เขตตรวจราชการ แสดงข้อมูล

  41. การจำแนกข้อมูล การจำแนกข้อมูล

  42. ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงข้อมูลและสารสนเทศรายโรค แยกตามพื้นที่พร้อมแผนภูมิจำนวนผู้ป่วยรายจังหวัด

  43. ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงข้อมูลและสารสนเทศรายโรค แยกตามพื้นที่พร้อมแผนภูมิจำนวนผู้ป่วยรายเดือน ของปี พ.ศ.ปัจจุบันเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปี

  44. ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงข้อมูลและสารสนเทศรายโรค แยกตามพื้นที่พร้อมแผนภูมิจำนวนผู้ป่วยตามกลุ่มอายุ

  45. ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงการส่งออกข้อมูล (Export)ในรูปเชิงพื้นที่ทางภูมิสาสตร์

  46. ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงการส่งออกข้อมูล (Export)ในรูปแผนภูมิแท่ง

  47. ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงการส่งออกข้อมูล(Export)ในรูปตาราง

  48. สิ่งที่จะทำในปี 2554 • การพัฒนาระบบการตรวจสอบข้อมูล R506 จากจังหวัดก่อนนำเข้าระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์(GIS.) • การพัฒนาระบบเตือนภัยโรคที่ต้องเฝ้าระวัง จากฐานข้อมูล R506 และ Event-based Surveillance • การพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาจากฐานข้อมูล R506

  49. ระบบแจ้งข่าวและตอบกลับกลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรองระบบแจ้งข่าวและตอบกลับกลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง http://epid.dpc7.net/outbreak/

  50. การเผยแพร่และการนำเสนอข้อมูลด้วย LCD

More Related