1 / 81

เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การวางแผนกลยุทธ์ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ โดย

เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การวางแผนกลยุทธ์ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ โดย ดร . สัญญา เศรษฐพิทยากุล ผู้อำนวยการศูนย์ยุทธศาสตร์การจัดการ ระหว่างวันที่ 14 - 16 มิถุนายน 2553 ณ โรงแรมเอเชีย ราชเทวี กรุงเทพฯ. 1. การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ. 2.

Download Presentation

เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การวางแผนกลยุทธ์ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ โดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การวางแผนกลยุทธ์ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ โดย ดร. สัญญา เศรษฐพิทยากุล ผู้อำนวยการศูนย์ยุทธศาสตร์การจัดการ ระหว่างวันที่ 14 - 16 มิถุนายน 2553 ณ โรงแรมเอเชีย ราชเทวี กรุงเทพฯ 1

  2. การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ 2

  3. กรอบแนวคิดในการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์กรอบแนวคิดในการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัด/ลุ่มน้ำเชิงบูรณาการ การนำแผนบริหารแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัด/ลุ่มน้ำ เชิงบูรณาการไปสู่การปฏิบัติ หัวข้อการนำเสนอ

  4. การประยุกต์ใช้ในการบริหารภาครัฐการประยุกต์ใช้ในการบริหารภาครัฐ จุดมุ่งหมาย คือ เพื่อสร้างประโยชน์สุขให้กับประชาชน วิเคราะห์ถึงสภาพปัญหา หรือแนวทางที่เป็นโอกาสเพื่อสร้างประโยชน์ให้กับประชาชน ใช้ข้อเท็จจริง (Fact-Based Management) ใช้เทคนิคทางสถิติประกอบ (เช่น การพยากรณ์ การจำลองสถานการณ์) กำหนดกิจกรรมหลักที่จะดำเนินการ เพื่อใช้ประโยชน์จากโอกาส หรือแก้ปัญหาข้างต้น พร้อมจัดลำดับความสำคัญ เชื่อมโยงกับการจัดสรรงบประมาณ เชื่อมโยงกับแผนงานด้านทรัพยากร การเชื่อมโยงแผนงานระดับต่างๆ และการจัดทำแผนระยะยาว การวางแผนยุทธศาสตร์ กำหนด จุดมุ่งหมาย ประเมิน สภาพแวดล้อม กำหนด กิจกรรมที่ จะมุ่งเน้น

  5. กรอบแนวคิดหลักในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรอบแนวคิดหลักในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ • สอดคล้องกับแนวทางการบริหารราชการแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์เชิงยุทธศาสตร์ ซึ่งมีหลักการสำคัญ ประกอบด้วย 1 2 จุดมุ่งหมายการพัฒนา (วิสัยทัศน์และเป้าประสงค์) คาดการณ์การเปลี่ยนแปลงเชิงมหภาค • ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ 3 4 ปัจจัย สู่ความสำเร็จ 5 กลยุทธ์และโครงการ ทรัพยากร (Input) การติดตามและประเมินผล • ตัวชี้วัดระดับผลผลิต 2 คาดการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคม วิเคราะห์สถานะปัจจุบัน 2 • กำหนดจุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ชัดเจน ในรูปแบบของวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ พร้อมกำหนดตัวชี้วัด • (KPI) ในระดับเป้าประสงค์ • 2. วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก โดยใช้ข้อมูลจริงสนับสนุน เพื่อให้เข้าใจถึงสถานการณ์ • ปัจจุบัน และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต • 3. กำหนดกลยุทธ์และโครงการพัฒนา เพื่อให้สามารถบรรลุจุดมุ่งหมาย โดยใช้ประโยชน์จาก • ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค • 4. ประเมินทรัพยากรที่จำเป็น ทั้งด้านงบประมาณ อัตรากำลัง เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามกลยุทธ์/โครงการ • 5. จัดให้มีการติดตามและประเมินผล ตลอดจนกลไกการสื่อสารและจูงใจ เพื่อให้มั่นใจในการบรรลุผลสัมฤทธิ์

  6. ตัวอย่างการใช้ข้อเท็จจริง (Fact)ประกอบการประเมินสภาพแวดล้อม ตัวอย่างกราฟแสดงระดับของปัญหาเชิงพื้นที่ในระดับภาพรวมของ กทม.

  7. ตัวอย่างการใช้ข้อเท็จจริง (Fact)ประกอบการประเมินสภาพแวดล้อม ตัวอย่างกราฟแสดงระดับของปัญหาเชิงพื้นที่ ในกลุ่มเขตที่อยู่อาศัย ตัวอย่างกราฟแสดงระดับของปัญหาเชิงพื้นที่ ในกลุ่มเขตอนุรักษ์ฯ ตัวอย่างกราฟแสดงระดับของปัญหาเชิงพื้นที่ ในกลุ่มเขตเศรษฐกิจ ตัวอย่างกราฟแสดงระดับของปัญหาเชิงพื้นที่ ในกลุ่มเขตอุตสาหกรรม

  8. ตัวอย่างการใช้ข้อเท็จจริง (Fact)จากการประเมินสภาพแวดล้อม มาประกอบการจัดสรรงบประมาณ

  9. การเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติการเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ แผนการบริหารราชการ แผ่นดิน แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ มาตรฐาน กระบวนงาน แผนยุทธศาสตร์ /แผนแม่บท กระทรวง/กรม งานประจำ /งานบริการ แผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด จัดทำงบประมาณประจำปี จัดการด้านโครงสร้าง/อัตรากำลัง กำหนด/พัฒนา Competency บุคลากร พัฒนาระบบบริหารราชการ /พัฒนาระบบ ICT จัดทำคำรับรองฯ มอบหมายงานสู่ระดับบุคคล งานพิเศษ คู่มือการ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติภารกิจ ตามที่ได้รับมอบหมาย ติดตามและประเมินผล

  10. กรอบแนวคิดในการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์กรอบแนวคิดในการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัด/ลุ่มน้ำเชิงบูรณาการ การนำแผนบริหารแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัด/ลุ่มน้ำ เชิงบูรณาการไปสู่การปฏิบัติ หัวข้อการนำเสนอ

  11. ความเป็นมาของการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดความเป็นมาของการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด • พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 7 พ.ศ. 2550 มาตรา 53/1 กำหนดให้จัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด • เพื่อเป็นกรอบทิศทางการบริหารงานจังหวัดให้เป็นในลักษณะบูรณาการ ดังที่ได้ระบุไว้ใน พรฎ.ว่าด้วย การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 มาตรา 6 ที่มุ่งเน้นให้มี • - การกำหนดแนวทางการดำเนินงานของทุกภาคส่วนในจังหวัดให้ไปสู่เป้าหมายที่มุ่งหวังร่วมกัน • - การบูรณาการ ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ และทรัพยากรในจังหวัด ตลอดจนการประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในสังคมอย่างมีทิศทาง โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงานอย่างชัดเจน • เพื่อให้มีแผนงานเชิงยุทธศาสตร์ที่สามารถนำไปเป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีของจังหวัด ที่จะสนับสนุนการผลักดันวาระแห่งชาติ (National Agenda) สู่ความสำเร็จ ควบคู่กับการบูรณาการเพื่อสร้างวาระระดับพื้นที่ (Area Agenda) การริเริ่มเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ (Area Initiative)

  12. ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 5 ด้าน วิสัยทัศน์การพัฒนาจังหวัด การพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความมั่นคงและมีความสามารถทางการแข่งขัน การพัฒนาคุณภาพคนและสังคม การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การเสริมสร้างความมั่นคง และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาการบริหารภาครัฐ ยุทธศาสตร์ที่ 5

  13. ความเป็นมาของการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดความเป็นมาของการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด • แนวคิดการบริหารงานจังหวัดแบบ บูรณาการ

  14. กรอบแนวคิดหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดกรอบแนวคิดหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด • เชื่อมโยงกรอบทิศทางการพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนงานระดับต่างๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน แผนแม่บท การพัฒนาประเทศใน ด้านต่างๆ ผังประเทศ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรฯ ความมั่นคงฯ การบริหาร ราชการ แผนปฏิบัติราชการของกระทรวง ที่ถ่ายทอดมาสู่หน่วยราชการ บริหารส่วนกลางและภูมิภาค แผนยุทธศาสตร์ภาค ผังภาค แผนยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด ผังอนุภาค แผนพัฒนาจังหวัด ผังเมือง แผนพัฒนาระดับท้องถิ่น ผังชุมชน

  15. ราชการ บริหาร ส่วนกลางและ ภูมิภาค แผนพัฒนา จังหวัด ผู้แทนภาค ประชาสังคม องค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น ผู้แทนภาค ธุรกิจเอกชน กรอบแนวคิดหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด • สอดคล้องกับความต้องการเชิงพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

  16. กรอบแนวคิดหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด • บูรณาการทรัพยากรในจังหวัด เพื่อร่วมพัฒนาสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน งบประมาณ นโยบายรัฐ ยุทธศาสตร์จังหวัด งบจังหวัด งบภาครัฐอื่นๆ แผนพัฒนาจังหวัด ภาคธุรกิจ งบภาคธุรกิจ งบ Function งบ Agenda ภาคชุมชน/ประชาสังคม งบ อปท. ระบบการบริหารจัดการแผนและงบประมาณจังหวัดที่ตอบสนองนโยบายภาครัฐ ภาคประชาชน และนำไปสู่การพัฒนาจังหวัดอย่างยั่งยืน

  17. เป้าประสงค์การพัฒนาจังหวัดในมิติต่างๆเป้าประสงค์การพัฒนาจังหวัดในมิติต่างๆ จังหวัดอื่นๆ เกษตรกรรม เกษตรกรรม • พัฒนาจังหวัดในมิติต่างๆ อย่างครอบคลุมและสอดคล้องกัน อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การท่องเที่ยว นำเข้าวัตถุดิบ / ประกอบธุรกิจร่วมกัน / แรงงานต่างจังหวัด การขนส่ง (Logistics) การค้าภายในจังหวัด การค้าภายใน ส่งออก / ประชาชนต่างจังหวัดเข้ามาใช้บริการ การขนส่ง (Logistics) แรงงานไป ทำงานต่างจังหวัด บริโภค/อุปโภค สินค้าบริการจากต่างจังหวัด เศรษฐกิจ สังคม ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) ความมั่นคง ความปลอดภัย ดัชนีความสุขของประชาชน (GPH) การบริหารจัดการภาครัฐ บริโภค/อุปโภค มีความปลอดภัย ความ พึงพอใจบริการภาครัฐ มีความรู้ สุขภาพ กาย ใจ อารมณ์ ที่ดี Supply - Demand แรงงาน มีรายได้ มีอาชีพ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม อัคคีภัย ที่ดิน น้ำ พลังงาน ป่าไม้ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ การจัดการ ของเสีย ภัยธรรมชาติ อาชญา กรรม บริการทางสังคมและชุมชน การศึกษา การแพทย์และ สาธารณสุข ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา กีฬา และนันทนาการ ยาเสพติด ความมั่นคง

  18. เป้าประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการเป้าประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ จังหวัดอื่นๆ เกษตรกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม นำเข้าวัตถุดิบ / ประกอบธุรกิจร่วมกัน / แรงงานต่างจังหวัด การขนส่ง (Logistics) การท่องเที่ยว การท่องเที่ยว ส่งออก / ประชาชนต่างจังหวัดเข้ามาใช้บริการ การขนส่ง (Logistics) แรงงานไป ทำงานต่างจังหวัด บริโภค/อุปโภค สินค้าบริการจากต่างจังหวัด เศรษฐกิจ การค้าภายใน การค้าภายในจังหวัด สังคม ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) ความมั่นคง ความปลอดภัย ดัชนีความสุขของประชาชน (GPH) การบริหารจัดการภาครัฐ บริโภค/อุปโภค มีความปลอดภัย ความ พึงพอใจบริการภาครัฐ มีความรู้ สุขภาพ กาย ใจ อารมณ์ ที่ดี Supply - Demand แรงงาน มีรายได้ มีอาชีพ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม อัคคีภัย ที่ดิน น้ำ พลังงาน ป่าไม้ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ การจัดการ ของเสีย ภัยธรรมชาติ อาชญา กรรม บริการทางสังคมและชุมชน การศึกษา การแพทย์และ สาธารณสุข ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา กีฬา และนันทนาการ ยาเสพติด ความมั่นคง

  19. การจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการการจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ การอุปโภค -บริโภค เกษตรกรรม อุตสาหกรรม แหล่งน้ำ ธรรมชาติ แหล่งน้ำ ที่มนุษย์สร้างขึ้น GPP การจัดหาน้ำ (Water Supply) ในปัจจุบัน ความต้องการน้ำ (Water Demand) ในปัจจุบัน สถานการณ์ ด้านความเพียงพอ (ขาดแคลน)น้ำ ในปัจจุบัน โครงการจัดหาน้ำ เพิ่มเติม (ที่มีอยู่เดิม) การเติบโต/ เปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ และสังคม ความต้องการน้ำ เพิ่มเติม สถานการณ์ ด้านความเพียงพอ (ขาดแคลน)น้ำ ในอนาคต

  20. ข้อมูลด้านความต้องการใช้นำข้อมูลด้านความต้องการใช้นำ

  21. ข้อมูลด้านความต้องการใช้นำข้อมูลด้านความต้องการใช้นำ

  22. แนวโน้มการใช้น้ำอุปโภคบริโภคในช่วง พ.ศ. 2541 – 2550

  23. ปริมาณการใช้น้ำอุปโภคบริโภคเฉลี่ยรายปี รายตำบล (พ.ศ. 2541-2550)

  24. สรุปปริมาณการใช้น้ำเฉลี่ยรายปี (พ.ศ. 2541-2550)

  25. ทิศทางการขยายตัว/การพัฒนาของจังหวัด => ผลกระทบต่อการบริหารจัดการน้ำ • กรอบยุทธศาสตร์ภาค • แผนพัฒนาจังหวัด • ผังเมืองรวม • แผนงานของภาคเอกชน

  26. ปริมาณการจัดหาน้ำอุปโภคบริโภค (พ.ศ. 2541-2550)

  27. ปริมาณการการจัดหาน้ำอุปโภคบริโภครายตำบล (พ.ศ. 2541-2550)

  28. ปริมาณการจัดหาน้ำเกษตรกรรม (พ.ศ. 2541-2550)

  29. ปริมาณการการจัดหาน้ำเกษตรกรรมรายตำบล (พ.ศ. 2541-2550)

  30. การจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการการจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ การอุปโภค -บริโภค เกษตรกรรม อุตสาหกรรม แหล่งน้ำ ธรรมชาติ แหล่งน้ำ ที่มนุษย์สร้างขึ้น ผลกระทบต่อ ระดับคุณภาพน้ำ ระดับคุณภาพน้ำ ในปัจจุบัน โครงการ อนุรักษ์และฟื้นฟู คุณภาพน้ำ (ที่มีอยู่เดิม) การเติบโต/ เปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ และสังคม ผลกระทบต่อ ระดับคุณภาพน้ำ เพิ่มเติม ระดับคุณภาพน้ำ ในอนาคต

  31. การคาดการณ์ปริมาณความต้องการน้ำการคาดการณ์ปริมาณความต้องการน้ำ การอุปโภค-บริโภคโดยภาคประชาชน/ครัวเรือน จำนวนประชากร (ย้อนหลัง 5 ปี) จำแนกตามโครงสร้างอายุ (จำแนกตามพื้นที่การปกครองที่ย่อยที่สุด) พยากรณ์จำนวนประชากรในอนาคต (จำแนกตามพื้นที่การปกครองที่ย่อยที่สุด) จำนวนครัวเรือน (ย้อนหลัง 5 ปี) และพยากรณ์จำนวนคร้วเรือนในอนาคต ประมาณการอุปโภค-บริโภคน้ำในภาคประชาชน/ครัวเรือน (พยากรณ์ล่วงหน้า 5 ปี) พร้อมแจกแจงเป็นฤดูกาล-เดือน (จำแนกตามพื้นที่การปกครองที่ย่อยที่สุด) การอุปโภค-บริโภคโดยภาคเกษตรกรรม สัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) ในด้านเกษตรกรรม พื้นที่เพาะปลูกในปัจจุบันและประเภทพืชที่ปลูก (จำแนกตามพื้นที่การปกครองที่ย่อยที่สุด) พื้นที่เพาะปลูกในอนาคต และประเภทพืชที่ปลูก (จำแนกตามพื้นที่การปกครองที่ย่อยที่สุด) อ้างอิงจากแผนพัฒนาจังหวัด กรอบยุทธศาสตร์ภาค ผังภาค/ผังอนุภาค ผลกระทบด้านคุณภาพน้ำจากพืชที่ปลูก คาดการณ์ปริมาณความต้องการใช้น้ำจากด้านเกษตรกรรม(พยากรณ์ล่วงหน้า 5 ปี) พร้อมแจกแจงเป็นฤดูกาล-เดือน (จำแนกตามพื้นที่การปกครองที่ย่อยที่สุด) ข้อมูลสนับสนุนการจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ

  32. การคาดการณ์ปริมาณความต้องการน้ำการคาดการณ์ปริมาณความต้องการน้ำ การอุปโภค-บริโภคโดยภาคอุตสาหกรรรม สัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) ในด้านอุตสาหกรรม จำนวนอุตสาหกรรมในปัจจุบัน จำแนกตามประเภทและขนาด (จำแนกตามพื้นที่การปกครองที่ย่อยที่สุด) จำนวนอุตสาหกรรมในอนาคต จำแนกตามประเภทและขนาด (จำแนกตามพื้นที่การปกครองที่ย่อยที่สุด) อ้างอิงจากแผนพัฒนาจังหวัด กรอบยุทธศาสตร์ภาค ผังภาค/ผังอนุภาค ผลกระทบด้านคุณภาพน้ำจากภาคอุตสาหกรรม คาดการณ์ปริมาณความต้องการใช้น้ำจากด้านอุตสาหกรรม (พยากรณ์ล่วงหน้า 5 ปี) พร้อมแจกแจงเป็นฤดูกาล-เดือน การอุปโภค-บริโภคน้ำโดยรวม (จำแนกตามพื้นที่การปกครองที่ย่อยที่สุด) พร้อมแจกแจงเป็นฤดูกาล-เดือน ข้อมูลสนับสนุนการจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ

  33. ข้อมูลพื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำข้อมูลพื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ แหล่งน้ำ ธรรมชาติ/พื้นที่กักเก็บน้ำ/ระบบชลประทาน/บ่อน้ำบาดาล ปริมาณน้ำในแหล่งต่างๆ แจกแจงตามฤดูกาล(ปัจจุบันและประมาณการล่วงหน้า) ความเชื่อมโยงของแหล่งน้ำทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ สถานีบำบัดคุณภาพน้ำ พร้อมกำลังความสามารถ ความสามารถในการระบายน้ำ ข้อมูลสนับสนุนการจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ

  34. แหล่งน้ำที่มีปัญหาด้านคุณภาพ ข้อมูลแหล่งน้ำที่มีปัญหาด้านคุณภาพ พร้อมจำแนกระดับและประเภทของปัญหา คาดการณ์แหล่งน้ำที่มีแนวโน้มปัญหาด้านคุณภาพ พร้อมจำแนกระดับและประเภทของปัญหา พื้นที่ที่มีปัญหาด้านภัยแล้ง-น้ำท่วม (จดอ่อนน้ำท่วม-ภัยแล้ง) ข้อมูลพื้นที่ที่มีปัญหาด้านภัยแล้ง พร้อมจำแนกระดับปัญหาและแจกแจงช่วงระยะเวลาที่มีปัญหา คาดการณ์พื้นที่ที่มีแนวโน้มปัญหาด้านภัยแล้ง พร้อมจำแนกระดับปัญหาและแจกแจงช่วงระยะเวลาที่มีปัญหา ข้อมูลพื้นที่ที่มีปัญหาด้านน้ำท่วม พร้อมจำแนกระดับปัญหาและแจกแจงช่วงระยะเวลาที่มีปัญหา คาดการณ์พื้นที่ที่มีแนวโน้มปัญหาด้านน้ำท่วม พร้อมจำแนกระดับปัญหาและแจกแจงช่วงระยะเวลาที่มีปัญหา ข้อมูลสนับสนุนการจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ

  35. ข้อมูลด้านกิจกรรมที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดำเนินงาน เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในจังหวัด รายชื่อหน่วยงานราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรน้ำ รายชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่สามารถของบประมาณ เพื่อการจัดการทรัพยากรน้ำ รายการโครงการ/แผนงาน งบประมาณที่หน่วยงานต่างๆ ได้ดำเนินการในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา เพื่อการจัดการน้ำ พร้อมจำแนกประเภทโครงการและแจกแจงพื้นที่ รายการโครงการ/แผนงาน งบประมาณที่หน่วยงานต่างๆ จะดำเนินการในรอบ 5 ปีข้างหน้า เพื่อการจัดการน้ำ พร้อมจำแนกประเภทโครงการและแจกแจงพื้นที่ ข้อมูลสนับสนุนการจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ

  36. แนวคิดการจัดทำแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำแบบบูรณาการ และการนำแผนสู่การปฎิบัติ

  37. ข้อคิดเห็น เพื่อการทบทวนแผนบริหารจัดการพัฒนาลุ่มน้ำฯ และแผนปฏิบัติการฯ ด้านข้อมูลสนับสนุน • ควรเพิ่มเติมการนำเสนอข้อมูล/ปัญหาของลุ่มน้ำ (ที่มีอยู่เดิม) ในลักษณะแผนภาพเชิงภูมิศาสตร์ (GIS) • พิ้นที่ขาดแคลนน้ำ • พื้นที่ปัญหาวิกฤตภัยแล้ง น้ำท่วม (ตามฤดูกาล) • พื้นที่ปัญหาด้านคุณภาพน้ำ • ควรเพิ่มเติมการนำเสนอข้อมูลด้านโครงการพัฒนาลุ่มน้ำ (ที่มีอยู่เดิม) ในลักษณะแผนภาพเชิงภูมิศาสตร์ (GIS)พร้อมแสดงประเภทโครงการและหน่วยงานรับผิดชอบ • ควรแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างแผนพัฒนาลุ่มน้ำฯ และแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด/ยุทธศาสตร์ภาค/ผังเมือง/ผังภาค • GPP ของจังหวัด ในช่วงที่ผ่านมาและคาดการณ์อนาคต โดยแสดงรายละเอียดด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และจำนวนนักท่องเที่ยว เพื่อประเมินความต้องการด้านน้ำเชิงพื้นที่ และคาดการณ์ปัญหาด้าคุณภาพน้ำ(ลงย่อยถึงระดับตำบล/ชุมชน) • การประเมินแนวทางการขยายตัวภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว จะช่วยให้เห็นการเติบโตของ GPP ควบคู่กับการประมาณความต้องการน้ำในภาคส่วนต่างๆ • จำนวนประชากร ในช่วงที่ผ่านมาและคาดการณ์อนาคต เพื่อประเมินความต้องการด้านน้ำเชิงพื้นที่ (ลงย่อยถึงระดับตำบล/ชุมชน) และคาดการณ์ปัญหาด้าคุณภาพน้ำ • การพัฒนาเชิงภายภาพในพื้นที่ที่กระทบต่อการบริหารจัดการน้ำ เช่น การสร้างถนน การสร้างนิคมอุตสาหกรรม การขยายตัวของที่อยู่อาศัย

  38. ข้อคิดเห็น เพื่อการทบทวนแผนบริหารจัดการพัฒนาลุ่มน้ำฯ และแผนปฏิบัติการฯ ด้านข้อมูลสนับสนุน • ควรเพิ่มเติมการนำเสนอข้อมูลด้านการจัดหาน้ำ (Water Supply) ที่มีอยู่เดิม (ระบบชลประทาน บ่อบาดาล ระบบประปา) พร้อมทั้งโครงการพัฒนาที่จะมีขึ้นในอนาคต โดยลงรายละเอียดเชิงพื้นที่ • ควรมีแผนภาพเชิงภูมิศาสตร์แสดงการประเมินสถานการณ์ด้านน้ำในอนาคต ซึ่งเป็นผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลด้านต่างๆ ข้างต้นร่วมกัน ด้านการสร้างมาตรฐานการกำหนดกรอบทิศทางการพัฒนาลุ่มน้ำ • ควรกำหนดเป้าประสงค์การพัฒนาลุ่มน้ำที่ชัดเจน พร้อมระบุตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ เพื่อเป็นกลไกในการประเมินความสำเร็จ เช่น พื้นที่ที่ได้รับการแก้ไข/ป้องกันปัญหาด้านขาดแคลนน้ำ พื้นที่ที่ได้รับการแก้ไข/ป้องกันปัญหาคุณภาพน้ำ • ควรจัดให้มีการวิเคราะห์ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (KSF) ต่อการบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยแสดงเป็นแผนภาพความคิด (Mind Map) • ปัจจัยสู่ความสำเร็จต่อการบรรลุเป้าประสงค์ด้านการจัดหาน้ำให้เพียงพอ ??? • ปัจจัยสู่ความสำเร็จต่อการบรรลุเป้าประสงค์ด้านการลดพื้นที่ที่มีปัญหาด้านคุณภาพน้ำ • ทบทวนการจัดหมวดหมู่ของยุทธศาสตร์/กลยุทธ์/โครงการ ที่กำหนดไว้เดิม พร้อมระบุหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบ/ดำเนินงานโครงการต่างๆ ที่ได้กำหนดขึ้น และสร้างเป็นมาตรฐานแนวทางการดำเนินงานไว้ (เทียบเคียง/อ้างอิงได้จากมาตรฐานเดิม)

  39. ข้อคิดเห็น เพื่อการทบทวนแผนบริหารจัดการพัฒนาลุ่มน้ำฯ และแผนปฏิบัติการฯ ด้านการสร้างมาตรฐานการกำหนดกรอบทิศทางการพัฒนาลุ่มน้ำ • ควรมีแผนภาพเชิงภูมิศาสตร์ สรุปโครงการดำเนินการพร้อมจำแนกประเภทโครงการ โดยนำเสนอเปรียบเทียบบนแผนภาพที่แสดงปัญหาเชิงพื้นที่ (แยกเป็นแผนภาพแสดงปัญหาปัจจุบัน คาดการณ์อนาคต และผลลัพธ์ที่คาดหวัง) • ควรกำหนดให้มีการจัดทำตารางสรุปงบประมาณ โดยจำแนกตามกลยุทธ์/หน่วยงานรับผิดชอบ พร้อมเปรียบเทียบกับแผนภาพแสดงระดับปัญหาของลุ่มน้ำ • ควรจัดให้มีตัวอย่างลุ่มน้ำนำร่อง และขยายผลไปยังลุ่มน้ำอื่นๆ (จัดเป็นคลินิกแผนฯ) • ควรจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุน เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลและติดตามโครงการ ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกับ DOC และ POC ได้

  40. กรอบเนื้อหาในแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการกรอบเนื้อหาในแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์หลัก 2 เป้าประสงค์หลัก 3 เป้าประสงค์หลัก 1 • ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ • ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ • ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (KSF) ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (KSF) ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (KSF) ข้อมูลสนับสนุน เพื่อการวิเคราะห SWOT ข้อมูลสนับสนุน เพื่อการวิเคราะห SWOT ข้อมูลสนับสนุน เพื่อการวิเคราะห SWOT กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ • ตัวชี้วัด • ระดับผลผลิต • ตัวชี้วัด • ระดับผลผลิต • ตัวชี้วัด • ระดับผลผลิต โครงการ จำแนกตามหน่วยงาน โครงการ จำแนกตามหน่วยงาน โครงการ จำแนกตามหน่วยงาน งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ

  41. วิสัยทัศน์ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ

  42. กรอบแนวคิดในการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์กรอบแนวคิดในการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัด/ลุ่มน้ำเชิงบูรณาการ การนำแผนบริหารแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัด/ลุ่มน้ำ เชิงบูรณาการไปสู่การปฏิบัติ หัวข้อการนำเสนอ

  43. การเชื่อมโยงแผนฯ สู่การปฏิบัติ แผนการบริหารราชการ แผ่นดิน แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ มาตรฐาน กระบวนงาน แผนยุทธศาสตร์ ลุ่มน้ำ งานประจำ /งานบริการ แผนปฏิบัติราชการ (หน่วยงานที่กี่ยวข้อง) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด จัดทำงบประมาณประจำปี จัดการด้านโครงสร้าง/อัตรากำลัง กำหนด/พัฒนา Competency บุคลากร พัฒนาระบบบริหารราชการ /พัฒนาระบบ ICT จัดทำคำรับรองฯ มอบหมายงานสู่ระดับบุคคล งานพิเศษ คู่มือการ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติภารกิจ ตามที่ได้รับมอบหมาย ติดตามและประเมินผล

  44. จัดตั้งคณะอนุกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการ มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ตัวแทนจากส่วนราชการและ ภาคส่วนต่างๆ เข้าร่วมเป็นคณะอนุกรรมการ โดยปฏิบัติงานให้เชื่อมโยงกับ กบจ. นำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัด/ลุ่มน้ำ ผนวกเข้ากับแผนพัฒนาจังหวัด จังหวัดและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด เพื่อนำไปสู่การพิจารณาจัดสรรงบประมาณสนับสนุน อปท. จัดทำแผนงานประจำปี ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการของจังหวัด เพื่อเป็นศูนย์กลางในการสื่อสารแผนพัฒนาจังหวัดสู่ประชาชน รวมทั้งเป็นศูนย์กลางการติดตามการนำแผนฯ ไปสู่ปฏิบัติ จัดให้มีการสำรวจประจำปี เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามแผนฯ และปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง การเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาจังหวัด

  45. การบริหารงบประมาณแนวใหม่การบริหารงบประมาณแนวใหม่ • SPBB (Strategic Performance-Based Budgeting) • การจัดทำงบประมาณแบบมมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์เชิงยุทธศาสตร์ • PART(Performance Assessment Rating Tool) • เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสเร็จของการดำเนินงาน จากการใช้จ่ายงบประมาณ

  46. SPPB & PART แผน ผล 1 เป้าหมายยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ชาติ รัฐบาล ผลกระทบ 2 กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการ(สาธารณะ) ยุทธศาสตร์ กระทรวง ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น แผนการให้บริการ (กลยุทธ์หน่วยงาน) เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน 3 หน่วยงาน ผลผลิต ผลผลิต ที่เกิดขึ้น ผลของกิจกรรม ที่เกิดขึ้น กิจกรรม งบประมาณ อ้างอิง: สำนักงบประมาณ

  47. ผลงาน =ผลผลิต+ ผลลัพธ์ SPBB ผลผลิต ผลลัพธ์ • ประสิทธิผล • ประสิทธิภาพ งบประมาณที่ใช้เทียบกับ ผลลัพธ์ที่ได้ • ความคุ้มค่า Resource Input Process Output Outcome ประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประโยชน์

  48. SPBB อ้างอิง: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ (2549)

More Related