1 / 82

การพัฒนาการเรียนรู้โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา

การพัฒนาการเรียนรู้โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา. เสนอ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 16 พฤศจิกายน 2553. งานวิจัยนี้ทำไปเพื่ออะไร ?. 3,000-4,000 บาท. ปี. ความต้องการ “คน” ที่เปลี่ยนแปลงไป. อุตสาหกรรม. มหาวิทยาลัย. มัธยม. 2540. 2553. ประถม. 2558-2566. โรงเรียน ?. เด็กเปลี่ยน.

Download Presentation

การพัฒนาการเรียนรู้โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาการเรียนรู้โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาการพัฒนาการเรียนรู้โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา เสนอ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 16 พฤศจิกายน 2553

  2. งานวิจัยนี้ทำไปเพื่ออะไร?งานวิจัยนี้ทำไปเพื่ออะไร? 3,000-4,000 บาท ปี

  3. ความต้องการ “คน” ที่เปลี่ยนแปลงไป อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย มัธยม 2540 2553 ประถม 2558-2566

  4. โรงเรียน? เด็กเปลี่ยน ความต้องการเปลี่ยน

  5. ความเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้นความเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้น จะมีโรงเรียนเพียงบางส่วนเท่านั้นที่จะปรับตัวใช้ประโยชน์จากระบบใหม่นี้ได้

  6. วิสัยทัศน์ของงานวิจัยวิสัยทัศน์ของงานวิจัย = ศึกษาใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำคัญในกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การศึกษาวิธีหัดใช้คอมพิวเตอร์

  7. มีเครื่องฯ ทุกคน ใช้งานได้ตลอดเวลา ไม่ใช่การแบ่งเครื่อง กันใช้แบบเดิม ÷

  8. วิสัยทัศน์ของงานวิจัย (2) คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ยาวิเศษ

  9. ครู และ ผู้บริหารโรงเรียน มีบทบาทสำคัญมากในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้แบบบูรณาการผ่านการทำโครงงาน

  10. จุดประสงค์ • คอมพิวเตอร์พกพาช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้อย่างไร • ศึกษาว่าเกิดการเรียนรู้แบบใหม่ๆ อะไรได้บ้าง • เพื่อศึกษาแนวทางการเตรียมความพร้อมของโรงเรียน • เพื่อศึกษาผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์พกพา

  11. รายละเอียดการทำวิจัย

  12. โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ

  13. ลักษณะการนำเครื่องคอมพิวเตอร์ไปใช้ลักษณะการนำเครื่องคอมพิวเตอร์ไปใช้

  14. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในโครงการวิจัยฯเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในโครงการวิจัยฯ คอมพิวเตอร์ XO จำนวน 478 เครื่อง บริจาคโดย • Mr. Francis Lee 100 เครื่อง • มูลนิธิไทยคม • XO-1

  15. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในโครงการวิจัยฯเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในโครงการวิจัยฯ • ประหยัดพลังงาน กินไฟต่ำ 4-8 วัตต์ (ทั่วไป 30-60 วัตต์) • ความทนทาน (ทนแรงกระแทก ทนความร้อนชื้นหรือหนาวเย็น ฝุ่น น้ำ) • จอภาพที่อ่านได้กลางแสงแดด จอถนอมสายตา • กล้องถ่ายภาพพร้อมลำโพงและไมโครโฟน • ระบบเครือข่ายไร้สาย ระบบ Wifiและ Mesh network

  16. กิจกรรมในโครงการวิจัยฯกิจกรรมในโครงการวิจัยฯ • การประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 6–7 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ณ ศูนย์อบรม บริษัทปูนซิเมนต์ไทย (ลำปาง) จำกัด จ.ลำปาง • การลงพื้นที่ เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานและการซ่อมบำรุงเครื่องเมื่อวันที่ 26 -27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 • การสัมมนาโครงการวิจัยฯครั้งที่ 1วันที่ 28-29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ณ สำนักงานโครงการพัฒนาดอยตุงฯ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย • การสัมมนาโครงการวิจัยฯ ครั้งที่ 2 วันที่ 23-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ณ ดรุณสิขาลัยโรงเรียนนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ของมหาวิยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กรุงเทพฯ

  17. กระบวนการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลจะอาศัยกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ แหล่งข้อมูล (1) ข้อมูลจากการสังเกตการณ์ของนักวิจัย (2) ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ครู ผู้บริหาร และนักเรียน (3) บันทึกของนักเรียนและรายงานประจำเดือนของโรงเรียน (4) แบบสอบถามของนักวิจัย

  18. ประเด็นในการเก็บข้อมูลประเด็นในการเก็บข้อมูล • ปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมให้การนำคอมพิวเตอร์พกพาไปใช้ในโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จ • แนวทางการจัดการเรียนรู้ • การจัดเวลา, การประเมินผลทางด้านวิชาการ, กฎเกณฑ์ในการใช้เครื่องฯ ภายในโรงเรียน • ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ • การแก้ปัญหาเบื้องต้นทางเทคนิคที่จำเป็นสำหรับครูและนักเรียน

  19. Constructivismมนุษย์เรียนรู้อย่างไรConstructivismมนุษย์เรียนรู้อย่างไร Jean Piaget

  20. ประเด็นสำคัญจากตัวอย่างประเด็นสำคัญจากตัวอย่าง • เด็กที่ยังไม่ได้พัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับ Conservation ต่อให้สอนอย่างไรเด็กก็จะไม่เข้าใจ • เด็กจะเข้าใจเรื่องนี้ได้เมื่อถึงวัย โดยเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ของตน • เด็กที่พัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับ Conservation แล้วจะจำไม่ได้ว่าตัวเองคิดอย่างไรในตอนที่ไม่เข้าใจ

  21. ท่านเห็นภาพอะไร?

  22. Schemaการพัฒนาความรู้และความเข้าใจของมนุษย์Schemaการพัฒนาความรู้และความเข้าใจของมนุษย์ เห็นไข่แล้วนึกถึงอะไร?

  23. Schema ของแต่ละคนมีผลต่อการรับรู้ และตีความสิ่งที่ได้พบ

  24. การเรียนที่ดีที่สุดคือการได้รับการส่งเสริม โดยตั้งอยู่บนความเข้าใจที่มี และช่วยให้เกิดการพัฒนาแนวคิดของตนเองไปเรื่อยๆ

  25. ลมมาจากไหน ?

  26. วีดีโอแสดงภาพจำลองพัฒนาการของ Schema

  27. การพัฒนาความคิดแบบก้นหอยคว่ำการพัฒนาความคิดแบบก้นหอยคว่ำ

  28. Constructionism Seymour Papert

  29. Constructivism เกิดขึ้นได้ดีเป็นพิเศษเมื่อผู้เรียนได้สร้างชิ้นงานที่เป็นรูปธรรม

More Related