1 / 64

ครู & ผู้ปกครอง เพศศึกษา พ.ญ. อัมพร เบญจพลพิทักษ์

ครู & ผู้ปกครอง เพศศึกษา พ.ญ. อัมพร เบญจพลพิทักษ์. How do we promote adolescent sexual health? Provide accurate information about sexuality Sex education Reproductive health care services. เพศศึกษา... ความรับผิดชอบของครู ???. เพศศึกษา.. ทำไมครูสอนอย่างเงียะ !!!!.

tom
Download Presentation

ครู & ผู้ปกครอง เพศศึกษา พ.ญ. อัมพร เบญจพลพิทักษ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ครู&ผู้ปกครองเพศศึกษาพ.ญ. อัมพร เบญจพลพิทักษ์

  2. How do we promote adolescent sexual health? • Provide accurate information about sexuality • Sex education • Reproductive health care services

  3. เพศศึกษา...ความรับผิดชอบของครู???เพศศึกษา...ความรับผิดชอบของครู???

  4. เพศศึกษา..ทำไมครูสอนอย่างเงียะ!!!!เพศศึกษา..ทำไมครูสอนอย่างเงียะ!!!!

  5. คุณหมอคะ...ช่วยด้วยค่ะ!!!คุณหมอคะ...ช่วยด้วยค่ะ!!! • คุณหมอคะ ไปเจอdiaryที่ลูกสาวลืมไว้...ไม่ตั้งใจจะสอดรู้เรื่องของเค้าหรอกค่ะ แต่แอบอ่านไปแล้วแทบบ้า...เหตุการณ์เกิดขึ้นขนาดนี้ ครูเคยใส่ใจกันไหม ไม่รู้จะสอนลูกยังไงดี เด็กทำแบบนี้เพราะอะไร ครูสอนเพศศึกษาผิดพลาดหรือเปล่า

  6. เพศศึกษา..ไม่สอนก็มีปัญหา สอนก็มีปัญหา ยังไงๆ..ก็มีปัญหา เพราะเรื่องนี้..มีปัญหา

  7. ให้ครูสอนแล้ว ยังคาดหวังให้เฝ้าระวังอีก!!!

  8. การสร้างความตระหนักจากพ่อแม่การสร้างเจตคติที่ดีจากพ่อแม่การสร้างความมีส่วนร่วมจากพ่อแม่การสร้างความตระหนักจากพ่อแม่การสร้างเจตคติที่ดีจากพ่อแม่การสร้างความมีส่วนร่วมจากพ่อแม่ องค์ประกอบความสำเร็จเพศศึกษา

  9. ปัญหาการพูดคุยเรื่องเพศกับเด็กปัญหาการพูดคุยเรื่องเพศกับเด็ก • ความรู้สึก • ความรู้ที่ถูกต้อง • การถ่ายทอดเจตคติค่านิยม • ความเหมาะสมแก่วัย

  10. พัฒนาการทางสังคม >12ปี Identity VS confusion 6-12 ปี Industry VS infiriority 3-5 ปี Initiavity VS Guilt 2ปี Autonomy trust 1ปี

  11. Sex center in human brain Medial Preoptic Area Paraventricular Nucleus Hypothalamus Amygdala Pituitary gland

  12. ความรู้สึกอึดอัดใจของพ่อแม่ยอมรับในความลำบากใจของตนเองไม่ปล่อยให้ความลำบากใจเป็นอุปสรรคของการพูดคุยการได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเพียงพอในเรื่องเพศ จะช่วยให้วัยรุ่นปลอดจากการตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

  13. “ท่าที่” สำคัญกว่า “ความรู้” • ท่าทีของพ่อแม่สำคัญกว่าเนื้อหาคำตอบ • พ่อแม่ไม่จำเป็นต้องรู้ทุกเรื่องเกี่ยวกับเพศศึกษา • “พ่อแม่ดีใจที่ลูกถาม” • เสนอแนะวิธีหาคำตอบที่เหมาะสม เช่น จากหนังสือ

  14. วัยที่พร้อมต่อการพูดคุยเรื่องเพศวัยที่พร้อมต่อการพูดคุยเรื่องเพศ • ไม่มีวัยที่เด็กเกินกว่าการถามและการตอบ • ให้คำตอบที่เหมาะแก่วัย • ไม่แปลกที่เด็กจะไม่เข้าใจทั้งหมด • การยอมรับการถามจะช่วยให้เด็กถามอีกเมื่อข้องใจ

  15. ตอบให้ตรงคำถามอย่าหลบเลี่ยงอย่าพยายามบรรยายลึกซึ้งเกินจริงพูดคุยอย่างเป็นกันเองสื่อสารสองทางตอบให้ตรงคำถามอย่าหลบเลี่ยงอย่าพยายามบรรยายลึกซึ้งเกินจริงพูดคุยอย่างเป็นกันเองสื่อสารสองทาง

  16. หากลูกไม่พร้อมต่อการพูดคุยหากลูกไม่พร้อม จงรอยิ่งพยายามบังคับ ลูกยิ่งต่อต้านและไม่เชื่อ

  17. จงบอกความจริงให้ข้อมูลที่ถูกต้องใช้คำบอกอวัยวะและหน้าที่ที่ถูกต้องหากเคยโกหก ต้องยอมรับความจริง

  18. จงเป็นที่ปรึกษาที่ดีแสดงความรู้สึกและค่านิยมของตนให้ลูกรับรู้ค้นหา ความรู้สึกและค่านิยมของลูกจากการพูดคุยการเป็นที่ปรึกษาที่ดีไม่จำเป็นต้องยอมรับหรือเห็นด้วยกับทุกสิ่งที่ลูกคิด

  19. เพศศึกษาในโรงเรียน พัฒนาการทางเพศ สุขอนามัยทางเพศ พฤติกรรมทางเพศ สัมพันธภาพ ทักษะส่วนบุคคล สังคมและวัฒนธรรม บทบาททางเพศ

  20. พัฒนาการทางเพศ

  21. สุขอนามัยทางเพศ

  22. พฤติกรรมทางเพศ

  23. สัมพันธภาพ

  24. สังคมและวัฒนธรรม

  25. ทักษะส่วนบุคคล

  26. พัฒนาการทางเพศ ม.ต้น -ความเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย (สิว ประจำเดือน เยื่อพรหมจารี ฝันเปียก) -ความสนใจเพศตรงข้าม -อารมณ์เพศ -การกำเนิดชีวิต (ความพร้อมทางสรีระ การตั้งครรภ์และการคลอด)

  27. สัมพันธภาพ การสร้างครอบครัว -การเลือกคู่ การเตรียมตัวก่อนสมรส การตรวจสุขภาพ การวางแผนครอบครัว การคุมกำเนิด สัมพันธภาพชีวิตคู่ - ความเอื้ออาทร ความรัก ความรับผิดชอบ ความไว้วางใจ

  28. การพัฒนาความนับถือตนเอง (Self esteem) • รู้จักตนเอง- ศักยภาพ ความถนัด กิจกรรมที่ชอบ วิชาที่เรียนแล้วมีความสุข • กำหนดจุดมุ่งหมายของชีวิต- ที่ทัดเทียมกับศักยภาพ ของตน เห็นภาพชัดเจน (มีบุคคลในอุดมคติ) • มีความมุมานะ พากเพียรพยายาม (effort)- แทนที่จะรักสนุก ชอบสบาย (comfort)

  29. คุณครูครับ...ช่วยด้วย • ผมไปรับส่งลูกทุกสัปดาห์..ล่าสุด สังเกตว่าลูกมี “รอยดูด” ตามที่ต่างๆ มันเกิดอะไรขึ้น ผมมั่นใจว่าเรื่องเกิดที่โรงเรียน เพราะลูกอยู่ประจำชั้นดี • ครูควรรู้และให้คำตอบผมได้

  30. ครู....สอนเพศศึกษาเด็กแล้ว..ยังต้องเป็นที่ปรึกษาของผู้ปกครองอีก??ครู....สอนเพศศึกษาเด็กแล้ว..ยังต้องเป็นที่ปรึกษาของผู้ปกครองอีก??

  31. คุณสมบัติผู้ให้คำปรึกษาคุณสมบัติผู้ให้คำปรึกษา • เห็นอกเห็นใจ จริงใจ • เป็นกลาง ปราศจากอคติ • ไม่ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง • มีจรรยาบรรณ

  32. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพทักษะการสร้างสัมพันธภาพ • Greeting ทักทาย • Small talk พูดคุยทั่วไป • Attending ใส่ใจ • Opening เปิดประเด็น

  33. การสื่อสารกับครอบครัวการสื่อสารกับครอบครัว

  34. เทคนิคพื้นฐานในการสำรวจปัญหาเทคนิคพื้นฐานในการสำรวจปัญหา • การฟังและการสังเกต • การถาม • การสะท้อนความรู้สึก • การทวนความและการสรุปความ

  35. Teacher knowledge of the student • Family dynamic • Family basic value systems

  36. ความแตกต่าง ...ความจริงที่ต้องยอมรับ

  37. First to understand, then to be understood …..เข้าใจผู้อื่นก่อน แล้วจึงขอให้ผุ้อื่นเข้าใจเรา

  38. ขอพบผู้ปกครอง • เรียน ผู้ปกครองนาย... ด้วยทางโรงเรียนได้รับรายงานถึงพฤติกรรมในชั้นเรียนของนาย....จึงขอเรียนเชิญท่านหารือเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงร่วมกันที่ฝ่ายปกครอง ชั้นสอง โรงเรียน....

  39. ข่าวจากโรงเรียน... • ไม่มีข่าว ...คือข่าวดี

  40. เทคนิคการจัดการกับอารมณ์ของผู้ปกครองเทคนิคการจัดการกับอารมณ์ของผู้ปกครอง

  41. ลักษณะปัญหา • ทุกข์ใจ /กลุ้มใจ /เศร้าใจ/ โกรธ • ตัดสินใจไม่ได้ • หาข้อมูล • - รับฟัง / ไม่ตัดสิน • ให้ข้อมูล

More Related