1 / 56

การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง

การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง. อัมพร วิโนทัย สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. 2 เมษายน 2554 โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ. เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังชนิดสีชมพู. การแพร่กระจายตัว. การแพร่กระจายตัว. ความเสียหาย. ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ.

cecile
Download Presentation

การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังการใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง อัมพร วิโนทัย สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร 2 เมษายน 2554 โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ

  2. เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังชนิดสีชมพูเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังชนิดสีชมพู

  3. การแพร่กระจายตัว

  4. การแพร่กระจายตัว

  5. ความเสียหาย

  6. ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ แมลงช้างปีกใส: ตัวอ่อน

  7. ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อSpalgisepius: หนอน

  8. ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อSpalgisepius: ดักแด้

  9. ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อSpalgisepius: ตัวเต็มวัย

  10. ด้วงเต่าตัวห้ำ Brumoides sp. • ระยะไข่ 5.63 วัน • ตัวอ่อนมี 5 วัย ระยะตัวอ่อน 15.67 วัน • ระยะดักแด้ 6.00 วัน • ระยะตัวเต็มวัย 39.28 วัน • ระยะไข่ - ตัวเต็มวัย 43 วัน • ตัวเต็มวัยกินเพลี้ยแป้ง 18.64 ตัว/วัน • ตลอดชีวิตตัวเต็มวัย 1 ตัวกินเพลี้ยแป้ง 783 ตัว

  11. ด้วงเต่าลายหยัก ด้วงเต่าสีส้ม ปริมาณเพลี้ยแป้งที่กิน เพศผู้ 7.93 ตัว/วันเพศเมีย 6.77 ตัว /วัน • เพศผู้ 9.91 ตัว/วันเพศเมีย 8.23 ตัว /วัน

  12. แตนเบียน Acerophagussp.

  13. ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ

  14. ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ

  15. ความเสียหายในแอฟริกา

  16. ความเสียหาย • ยอดหงิก • ผลผลิตลดลงมากถึง 80% • ขาดแคลนท่อนพันธุ์ • ผลผลิตเฉลี่ย 1.28 ตัน/ไร่

  17. วงจรชีวิตเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพูไม่มีเพศผู้ ทุกตัวเป็นเพศเมีย วางไข่ได้เมื่อเป็นตัวเต็มวัย

  18. คุณลักษณะทางชีววิทยาของเพลี้ยแป้งสีชมพูคุณลักษณะทางชีววิทยาของเพลี้ยแป้งสีชมพู

  19. ขั้นตอนการนำเข้า • ขอ Import Permit • นำเข้าศัตรูธรรมชาติ • ทดสอบความปลอดภัยในการนำมาใช้ ในห้องปฏิบัติการกักกัน • สรุปผลการศึกษา เสนอกรมวิชาการเกษตร

  20. ขั้นตอนการนำเข้า (ต่อ) • ขอ Release Permit • เพาะเลี้ยงเป็นปริมาณมาก • นำออกปล่อยในภาคสนาม • ประเมินผลโครงการ • รายงานกรมวิชาการเกษตร

  21. แตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพูแตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู เพศเมีย

  22. เพศผู้

  23. เป็นตัวห้ำ

  24. ระยะเวลาตั้งแต่วางไข่ – มัมมี่ = 9 – 10 วัน วางไข่ – ตัวเต็มวัย = 17 – 21 วัน เป็นตัวเบียน

  25. ปลูกมันสำปะหลัง: ใช้ต้นมันอายุอย่างน้อย 45 วัน

  26. เลี้ยงเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู: เพลี้ยอายุอย่างน้อย 21 วัน

  27. การเลี้ยงแตนเบียน

  28. การเพาะเลี้ยงบนผลฟักทอง: ใช้ได้ดีเมื่อมีเพลี้ยในไร่มาก ๆ

  29. เก็บยอดมันสำปะหลัง ที่มีเพลี้ยแป้งจากในไร่ นำมาวางบนตะแกรง ซ้อนทับด้วยฟักทอง ทิ้งไว้ 5-7 วัน เพลี้ยจะย้ายจากยอดมันมาอยู่บนฟักทอง

  30. การปล่อยในแปลงทดสอบ

  31. การสุมยอด เก็บยอดมันสำปะหลังที่มีเพลี้ยแป้ง จากแปลงที่ปล่อยแตนเบียนแล้ว 1 เดือน

  32. การสุมยอด: นำมากองรวมกันในมุ้ง

  33. การสุมยอด: จะดูดเก็บแตนเบียนได้ในวันรุ่งขึ้น

  34. การสุมยอด

  35. จำนวนแตนเบียนที่ได้จากการสุมยอด 50 ยอด

  36. การประเมินผล:ดูจากการปรากฎตัวการประเมินผล:ดูจากการปรากฎตัว

  37. การประเมินผล

  38. การประเมินผล:ดูจากยอดที่แตกออกมาใหม่การประเมินผล:ดูจากยอดที่แตกออกมาใหม่

More Related