1 / 86

ยินดีต้อนรับแพทย์ทุน กรมควบคุมโรค ปี 2553

ยินดีต้อนรับแพทย์ทุน กรมควบคุมโรค ปี 2553. ผู้บริหารกรมควบคุมโรค. น.พ.มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค. น.พ.ศิริศักดิ์ วรินทราวาท รองอธิบดี. น.พ.ประพนธ์ ตั้งศรีเกียรติกุลรอง อธิบดี. นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์รอง อธิบดี. นพ.นพพร ชื่นกลิ่น รอง อธิบดี. 2.

Download Presentation

ยินดีต้อนรับแพทย์ทุน กรมควบคุมโรค ปี 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับแพทย์ทุน กรมควบคุมโรค ปี 2553

  2. ผู้บริหารกรมควบคุมโรคผู้บริหารกรมควบคุมโรค น.พ.มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค น.พ.ศิริศักดิ์ วรินทราวาท รองอธิบดี น.พ.ประพนธ์ ตั้งศรีเกียรติกุลรองอธิบดี นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์รองอธิบดี นพ.นพพร ชื่นกลิ่น รองอธิบดี 2

  3. การแบ่งส่วนราชการกรมควบคุมโรค (ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ) กรมควบคุมโรค กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานเลขานุการกรม กองการเจ้าหน้าที่ กองคลัง กองแผนงาน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 สถาบันราชประชาสมาสัย สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สถาบันบำราศนราดูร สำนักระบาดวิทยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรค ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักโรคไม่ติดต่อ

  4. หน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเป็นการภายในหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเป็นการภายใน กรมควบคุมโรค สำนักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก สำนักจัดการความรู้ ศูนย์พัฒนาระบบบริการยาต้านไวรัสสำหรับ ผู้ติดเชื้อเอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ในประเทศไทย สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักงานคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ สำนักวัณโรค ศูนย์สารสนเทศ ศูนย์ปฏิบัติการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHER) สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ

  5. จำนวนอัตรากำลัง กรมควบคุมโรค รวมทั้งสิ้น 6,445 อัตรา 5

  6. กรอบอัตรากำลังข้าราชการ ตามประเภท 1,300 คน 1,947 คน 24 คน 5 คน ประเภท 6

  7. โครงสร้างและบทบาทภารกิจของกรมควบคุมโรคโครงสร้างและบทบาทภารกิจของกรมควบคุมโรค นายยุทธพงษ์ เกียรติยุทธชาติ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาระบบงานและอัตรากำลัง กองการเจ้าหน้าที่ โครงการปฐมนิเทศแพทย์ทุน ... 9 เมษายน 2553

  8. โครงสร้างและบทบาทภารกิจ ของกระทรวงสาธารณสุข ตาม พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ. 2545 ประกาศ ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2545

  9. อำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุข มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน

  10. โครงสร้างกระทรวงสาธารณสุขโครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการสาธารณสุข กลุ่มภารกิจ ด้านสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต กรมการแพทย์ สำนักคณะกรรมการอาหารและยา กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก สำนักงานปลัดกระทรวง สำนักส่วนกลาง หน่วยปฏิบัติการในภูมิภาค สาธารณสุขจังหวัด/อำเภอ สถานบริการสุขภาพ

  11. ส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุขส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานปลัดกระทรวง กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

  12. โครงสร้างและบทบาทภารกิจของกรมควบคุมโรคโครงสร้างและบทบาทภารกิจของกรมควบคุมโรค อดีต... เดิม งานควบคุมโรคติดต่อ ขึ้นอยู่กับกรมการแพทย์และอนามัย ต่อมา..... ในปี พ.ศ. 2517 ได้มีการแยก กรมการแพทย์และอนามัยออกจากกัน ในครั้งนั้นได้มีการรวมหน่วยงานด้านควบคุมโรคติดต่อเข้าด้วยกันและจัดตั้งเป็น “กรมควบคุมโรคติดต่อ”

  13. ปัจจุบัน กรมควบคุมโรคติดต่อกรมควบคุมโรค 2517 2 ตุลาคม 2545 (ตาม พ.ร.บ.ปรับปรุง กระทรวงทบวง กรม พ.ศ.2545)

  14. สาระสำคัญที่มีการปรับเปลี่ยนสาระสำคัญที่มีการปรับเปลี่ยน •  บทบาท ภารกิจ • กรมควบคุมโรคติดต่อ กรมควบคุมโรค • ปรับบทบาทโรงพยาบาลบำราศนราดูรสถาบันบำราศนราดูร • รวมกองโรคเรื้อน + โรงพยาบาลพระประแดง เป็นสถาบันราชประชาสมาสัย • รวมกองโรคเอดส์ + กองวัณโรค + กองกามโรค เป็นสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • รวมกองมาลาเรีย + กองโรคเท้าช้าง + กลุ่มงานโรคติดต่อ • นำโดยแมลงของกองโรคติดต่อทั่วไป • เป็น สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง

  15.  รับโอน - กองระบาดวิทยา จาก สป. สำนักระบาดวิทยา - งานอุบัติเหตุและสาธารณภัย - งานด้านพฤติกรรมและสังคม - งานควบคุมการบริโภคยาสูบ - กองอาชีวอนามัย จากกรมอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - งานประชาสัมพันธ์โรคเอดส์ จากสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จากกรมการแพทย์ สำนักโรคไม่ติดต่อ

  16. ตัดโอน - โรงพยาบาลโรคทรวงอก กรมการแพทย์ - โรงพยาบาลโรคติดต่อภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.ขอนแก่น สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  17. ปรับปรุง • สำนักงานควบคุมโรคติดต่อเขต สำนักงานป้องกัน • (สคต.1-12)ควบคุมโรค • (สคร.1-12) โดยรวม - สำนักงานควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 1-5 อยู่ในสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 - งานอาชีวอนามัย ศูนย์อนามัยสิ่งแวดล้อม 1-12 กรมอนามัย

  18. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2552

  19. กรมควบคุมโรค • มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการ เพื่อการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ โดยมีการศึกษา วิจัย พัฒนา รวมทั้งการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม วินิจฉัยและรักษาโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจากการป้องกันและการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ

  20. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย 1. ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อนุสัญญาหรือกฎข้อบังคับระหว่างประเทศ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค และภัยที่คุกคามสุขภาพของประชาชน 3. เป็นศูนย์กลางในการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานทางด้านวิชาการ เวชภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม วินิจฉัย และรักษาโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ

  21. 4. กำหนดและพัฒนานโยบาย กฎหมาย มาตรการและคุณภาพมาตรฐานการดำเนินงานในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพของประชาชน 5. ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชน

  22. 6. จัด ประสาน และพัฒนาระบบ กลไกและเครือข่ายในการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน และการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ รวมทั้ง สื่อสัญญาณเตือนภัยการระบาดของโรคแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน 7. จัดให้มีบริการเพื่อรองรับการส่งต่อผู้ป่วยโรคติดต่อเฉพาะโรคติดต่อสำคัญ และโรคติดต่อร้ายแรงในระดับตติยภูมิ และกักกันผู้ป่วยโรคติดต่ออันตรายตามข้อตกลงระหว่างประเทศ

  23. 8. จัดให้มีบริการป้องกัน ควบคุม รักษา และฟื้นฟูสภาพโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพตลอดจนแหล่งแพร่โรค เพื่อให้ได้องค์ความรู้ในการพัฒนาวิชาการตามภารกิจของกรม 9. ดำเนินการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเฝ้าระวังป้องกัน และการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ กรณีที่เป็นปัญหาวงกว้างเกิดโรคระบาดรุนแรงหรือมีแนวโน้มที่จะขยายตัวเป็นปัญหารุนแรง

  24. 10.ดำเนินการร่วมกับนานาประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคและปัญหาสุขภาพระหว่างประเทศ 11. พัฒนาระบบและกลไก เพื่อให้มีการดำเนินการบังคับใช้กฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ 12. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรม หรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ..................

  25. วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือ และไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรค และภัยสุขภาพด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายใน ปี 2563

  26. พันธกิจ 1. ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายภายในและ ระหว่างประเทศในการผลิตและพัฒนาผู้เชี่ยวชาญ องค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร เครื่องมือ กฎหมายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2. ส่งเสริม สนับสนุน ถ่ายทอด แลกเปลี่ยนความรู้ ให้ เครือข่ายและประชาชน 3. ผลักดัน และติดตามการบังคับใช้กฎหมายที่จำเป็นต่อ การปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ 4. เตรียมความพร้อมในการจัดการภาวะคุกคามและ ภัยสุขภาพใหม่ ๆ ได้ทันการณ์ 5. พัฒนาและประเมินศักยภาพระบบกลไกของเครือข่าย การดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

  27. ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การชี้ทิศ กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการและเสนอกฎหมายการป้องกัน และควบคุมโรค ของชาติ ในระดับประเทศ ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเป็นศูนย์กลางข้อมูลอ้างอิง และ มาตรฐานวิชาการป้องกันและควบคุมโรคแห่งชาติ ที่ ได้มาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การเป็นศูนย์กลางของชาติ ที่ให้การสนับสนุน ด้านวิชาการและเทคนิคการป้องกันและควบคุมโรค ตามมาตรฐานอย่างรวดเร็ว ตามความต้องการของพื้นที่ และของเครือข่ายภาคี

  28. ยุทธศาสตร์ ยุทธศาตร์ที่ 4 : การสร้าง พัฒนาและใช้เครือข่ายภาคีในการ ร่วมดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคอย่างทั่วถึงและได้ผล

  29. ยุทธศาสตร์ ยุทธศาตร์ที่ 6 : การติดตามและประเมินผลภาพรวมของ การป้องกันและควบคุมโรคของประเทศ ยุทธศาตร์ที่ 7 : การพัฒนาคุณภาพระบบการบริหาร จัดการองค์กรที่ได้มาตรฐานสากล โปร่งใส ตรวจสอบได้

  30. แผนภูมิการแบ่งส่วนราชการ กรมควบคุมโรค กรมควบคุมโรค สำนักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สำนักจัดการความรู้ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักงานเลขานุการกรม กองการเจ้าหน้าที่ สำนักบริหารโครงการกองทุนโลก สำนักวัณโรค ศูนย์สารสนเทศ กองคลัง กองแผนงาน สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ PHER สำนักระบาดวิทยา สถาบันบำราศนราดูร สถาบันราชประชาสมาสัย สคร.1 - 12 สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แทนหน่วยงานภายใน

  31. กลุ่มตรวจสอบภายใน ตรวจสอบ สอบทานการปฏิบัติงานที่ เกี่ยวข้องกับการเงิน ให้ถูกต้องตามระเบียบ ข้อกฎหมาย

  32. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (ก.พ.ร.) - ให้คำปรึกษา ประสาน กำกับดูแลการ บริหารงานของหน่วยงานให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน - ประสาน สนับสนุนงานพัฒนาระบบ ราชการ เสนอ สำนักงาน ก.พ.ร.

  33. สำนักงานเลขานุการกรม - ปฎิบัติงานสารบรรณของกรม - ดำเนินการเกี่ยวกับงานช่วยอำนวยการ และงานเลขานุการของกรม - งานอาคารสถานที่ ยานพาหนะของกรม - ดำเนินการอื่นใดที่มิได้กำหนดให้เป็นอำนาจ หน้าที่ของส่วนราชการใด

  34. กองการเจ้าหน้าที่ จัดระบบงานและบริหารงานบุคคลของกรมฯ

  35. กองคลัง จัดระบบและบริหารงาน การเงิน บัญชี งบประมาณ และพัสดุ ของกรมฯ

  36. กองแผนงาน - จัดทำ ประสานแผนงาน/แผนปฏิบัติการ ของกรมฯ - ประสานความร่วมมือด้านวิชาการทั้งใน และต่างประเทศ - สนับสนุนวิชาการ ด้านศึกษา วิจัย - เป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศของกรมฯ

  37. สถาบันบำราศนราดูร - ศึกษา วิจัย ถ่ายทอดองค์ความรู้ พัฒนามาตรฐาน การตรวจ วินิจฉัย รักษา ฟื้นฟูสภาพ ผู้ป่วยเอดส์/ โรคปัญหาสำคัญ - ให้บริการตรวจ วินิจฉัย รักษาผู้ป่วยเอดส์ เพื่อ การศึกษา วิจัย

  38. สถาบันราชประชาสมาสัย - ศึกษา วิจัย ถ่ายทอดองค์ความรู้ พัฒนามาตรฐาน การตรวจ วินิจฉัยรักษาฟื้นฟูสภาพ ผู้ป่วยโรคเรื้อน - ให้บริการตรวจ วินิจฉัย รักษาผู้ป่วยโรคเรื้อน เพื่อการศึกษา วิจัย

  39. สำนักงานคณะกรรมการควบคุมสำนักงานคณะกรรมการควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - ศึกษา วิจัย พัฒนาวิชาการและเทคโนโลยีด้านการป้องกัน ควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบรวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้น - จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กฎหมาย กฎ ประกาศ ระเบียบ รูปแบบ เทคนิคการควบคุมป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ

  40. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1- 12 - ศึกษา วิจัย เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค ในพื้นที่ - ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องและประชาชน - สนับสนุนการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ - เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในพื้นที่รับผิดชอบ

  41. ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มระบาดวิทยา กลุ่มโรคติดต่อทั่วไป กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1- 12 ผู้อำนวยการสำนักงาน กลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ กลุ่มโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเรื้อน กลุ่มโรคไม่ติดต่อ กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง

  42. กลุ่มโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคเรื้อน นิคม 12 แห่ง (เฉพาะ สคร. ที่ 3, 5, 6, 7, 9, 10 และ11) กลุ่มโรคติดต่อทั่วไป ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ 26 แห่ง (ยกเว้น สคร. ที่ 1, 2 และ 5) กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง 39 แห่ง (ยกเว้น สคร. ที่ 1)

  43. คำสั่ง กรมควบคุมโรค ที่ 1657/2551 สั่ง ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2551

  44. สำนักระบาดวิทยา - ศึกษา วิจัย ด้านระบาดวิทยา - พัฒนามาตรฐานการดำเนินงาน/สมรรถนะ บุคลากรด้านระบาดวิทยาทุกระดับ - พัฒนาระบบ เครือข่ายระบาดวิทยา - เผยแพร่ข้อมูล และเตือนภัยการระบาดของโรค

  45. สำนักโรคจากการประกอบอาชีพสำนักโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม ศึกษา วิจัย ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านโรค จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

  46. สำนักโรคติดต่อทั่วไป ศึกษา วิจัย ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้าน - โรคติดต่ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำ - โรคติดต่อระหว่างประเทศ - โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน - โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ - โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน - โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก

  47. สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลงสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง ศึกษา วิจัย ถ่ายทอดองค์ความรู้ ด้านโรคติดต่อนำโดยแมลง (มาลาเรีย/เท้าช้าง/ไข้เลือดออก)

More Related