1 / 71

การเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ. ประจวบ ชัยมณี. นักเทคนิคการแพทย์ 6 งานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร pracha4@kku.ac.th , 086-8508855. 26 สิงหาคม 2553. วิสัยทัศน์. เป็นห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร ที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานวิชาชีพระดับสากล ผู้ใช้บริการพึงพอใจ

hansel
Download Presentation

การเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการการเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ประจวบ ชัยมณี นักเทคนิคการแพทย์ 6 งานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร pracha4@kku.ac.th, 086-8508855 26 สิงหาคม 2553

  2. วิสัยทัศน์ เป็นห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร ที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานวิชาชีพระดับสากล ผู้ใช้บริการพึงพอใจ เป็นห้องปฏิบัติการเพื่อการเรียน การสอน การวิจัย และ เป็นแบบอย่างขององค์กรที่ทำงานอย่างมีความสุข

  3. โครงสร้างหน่วยงาน งานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร • หน่วยจุลทรรศน์วินิจฉัย • หน่วยจุลชีววิทยาคลินิก • หน่วยเคมีคลินิก • หน่วยภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก • หน่วยทะเบียนกลาง คลังเลือดกลาง ภาควิชาจุลชีววิทยา ภาควิชานิติเวช ภาควิชาปรสิตวิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยา ภาควิชาชีวรังสี คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานสังกัดภาควิชาอื่นๆ

  4. ย้ายไปที่อาคาร สว.1 เมื่อ ตุลาคม 2551

  5. Microbiology Office Zone Hemato&Microscopy Automate Chem&Immuno ห้องรับอุปกรณ์ ห้องรับส่งตัวอย่างและผลการตรวจ (เปิดบริการ 24 ชม.)

  6. Molecular Lab Special Lab PCR Lab. Lab. Flow. for Leukemia

  7. โครงสร้างหน่วยงานตามลักษณะการบริการโครงสร้างหน่วยงานตามลักษณะการบริการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ โทร. 66976-7 งานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร หน่วยทะเบียนกลางฯ หน่วยจุลชีววิทยาคลินิก หน่วยเคมีคลินิก และภูมิคุ้มกัน หน่วยจุลทรรศน์วินิจฉัย หน่วยตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ (PCR) ห้องเจาะเลือดฯ

  8. หมายเลขโทรศัพท์ ** ให้บริการ 24 ชั่วโมง

  9. งานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตรงานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร • ให้บริการเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ • ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ • รับบริการตรวจจากหน่วยงานนอกโรงพยาบาล • ประสานงานการตรวจกับห้องปฏิบัติการภาควิชาต่างๆ • เชื่อมต่อข้อมูลผลการตรวจกับระบบโรงพยาบาล

  10. งานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตรงานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร • เป็นแหล่งฝึกปฏิบัติงาน/ดูงาน ของนักศึกษาหรือบุคลากรทางการแพทย์ • ให้บริการข้อมูลการตรวจเพื่อการเรียนการสอนและวิจัย • ให้บริการเก็บตัวอย่างเพื่อการเรียนการสอนและวิจัย • บริการตรวจเพื่อวินิจฉัยการติดเชื้อในโรงพยาบาล • ตรวจและประสานงานการตรวจทางห้องปฏิบัติการ SARS, Avian flu • บริการเบิกจ่ายอุปกรณ์เก็บสิ่งส่งตรวจ • ทำเอกสารเรียกเก็บเงินค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่น

  11. Steps in Laboratory Diagnostic

  12. การเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ หลักการสำคัญที่พึงระลึกอยู่เสมอ 1. SAFETY • สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเองพื้นฐาน • เสื้อคลุม, ถุงมือ, แว่นตา, mask ฯลฯ • ศึกษาคู่มือและวิธีการเก็บให้เข้าใจ • การตรวจสอบรายการและฉลากให้ครบถ้วน • ชื่อ-สกุล-HN-ward, รายการตรวจ, ชนิดสิ่งส่งตรวจ • เตรียมอุปกรณ์ให้ครบถ้วน • อุปกรณ์เก็บตัวอย่าง, ภาชนะบรรจุ, ถังขยะ • ปฏิบัติตามหลัก Standard precaution โดยรำลึกเสมอว่า • สิ่งส่งตรวจทุกชนิดอาจมีเชื้อจุลชีพที่สามารถก่อโรคได้

  13. 2. SELECTION AND COLLECTION • หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีการปนเปื้อนของแบคทีเรียประจำถิ่น (Normal flora) เช่น • บริเวณผิวหนัง, โพรงจมูก-ลำคอ, อวัยวะสืบพันธุ์ • เลือกตำแหน่งของสรีระที่ต้องการให้ถูกต้อง • เก็บให้ได้ปริมาตร / ปริมาณ ที่เพียงพอต่อการตรวจ • ใส่ในภาชนะบรรจุที่ถูกต้อง, ปลอดภัยจากการแพร่เชื้อและไม่มีการรั่วซึม • ติดฉลากให้มีรายละเอียดครบถ้วน สมบูรณ์ • เขียนรายละเอียดการส่งตรวจให้ครบถ้วน ชัดเจน

  14. 3. PRESERVATION AND TRANSPORTATION • ใช้ภาชนะเก็บสิ่งส่งตรวจให้ถูกต้อง • เก็บสิ่งส่งตรวจในสภาวะที่เหมาะสม • ปัสสาวะ เก็บตู้เย็น ไม่เกิน 24 ชม. ส่งภายในวันเดียวเก็บที่อุณหภูมิห้อง • CSF, Eye, Vg, Penis ห้ามแช่ตู้เย็น • นำส่งในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในคู่มือ • นำส่งในสภาวะที่เหมาะสม • ควรมีกระติกบรรจุน้ำแข็ง ส่งสิ่งส่งตรวจ

  15. การเจาะเลือดด้วยระบบสูญญากาศการเจาะเลือดด้วยระบบสูญญากาศ พัฒนาขึ้นเพื่อปรับปรุงการเจาะเลือดให้ดีขึ้น ซึ่งมีการดูดเลือดเข้าสู่หลอดเก็บเลือด โดยตรง สามารถเก็บตัวอย่างได้หลายหลอด สามารถเรียงตามลำดับดังนี้ • ขวดเพาะเชื้อจากเลือด • หลอด heparin (จุกสีเขียว) • หลอดสำหรับ clotted blood (จุกสีแดง) • หลอด citrate ที่ใช้ทำ coagulation (จุกสีน้ำเงิน) • หลอด EDTA (จุกสีม่วง) • หลอด oxalate/fluoride (จุกสีเทา) การใช้อุปกรณ์ butterfly เหมาะกับการเจาะเส้นเลือดดำขนาดเล็ก ช่วยให้เข็มยึดอยู่กับที่ แม้ผู้ป่วยจะมีการเคลื่อนไหว

  16. Specimen rejection criteria • นำส่งในสภาวะอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสม • ใช้ภาชนะบรรจุหรือtransport media ผิดประเภท • นำส่งผิดเวลา – ล่าช้าเกินกว่า ที่กำหนดในคู่มือ • การติดฉลากผิดพลาดหรือไม่สมบูรณ์ • ภาชนะแตกชำรุดหรือรั่วซึม • สิ่งส่งตรวจแห้ง หรือ ปริมาตรไม่เหมาะสม • ใส่ในน้ำยา fixative เช่น Formalin • Duplicate sample in 24h. Period (urine, sputum, rectal swab)

  17. ปัญหาที่พบในการรับสิ่งส่งตรวจปัญหาที่พบในการรับสิ่งส่งตรวจ เปลี่ยนชนิดขวด/หลอดบ่อย • เก็บตัวอย่างผิดคน (identification) • ใช้ภาชนะไม่ถูกชนิด (Containner) • นำส่งผิดเวลา / อุณหภูมิไม่เหมาะสม (Transport) • ไม่สามารถแยกด่วน – ไม่ด่วน ได้ (Ergent) • ปริมาณไม่ถูกต้อง – พอเพียง (Volume) • ใบนำส่งไม่ถูกต้อง (Request form) • ตัวอย่างอยู่ในสภาพไม่เหมาะสมต่อการตรวจ (Quality) • label ไม่ชัดเจน / ผิด (Labeling) เปลี่ยนพยาบาล/แพทย์/เจ้าหน้าที่ใหม่ มี Lab ใหม่มาอีกแล้ว ไม่รู้จัก ย้ายห้องแล็ป ก็ไม่บอก??

  18. หน่วยจุลชีววิทยาคลินิกหน่วยจุลชีววิทยาคลินิก • ตรวจเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียและทดสอบความไวต่อยา (Aerobe & Anaerobe) • ตรวจเพาะเลี้ยงเชื้อรา และ วัณโรค (Fungus & Mycobacterium) • ตรวจจุลชีพด้วยการย้อมสี Gram, AFB, KOH, India ink, Partial AFB • เตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อและสีย้อมต่างๆ • ตรวจหา toxin, antigen : C. difficile toxin, V. cholera Ag. • บริการ 24 hr. ทุกวันไม่เว้นวันหยุด • สถานที่ : ชั้น 5 อาคาร สว.1 • ใบนำส่ง : พ. 24 สีเหลือง • โทร. 043-366972

  19. ภาชนะส่งตรวจที่มีให้บริการภาชนะส่งตรวจที่มีให้บริการ • ขวดเพาะเชื้อแบคทีเรียจากเลือด • หลอด Heparin สำหรับเพาะเชื้อ Mycobacteriaจากเลือด • ขวดปากกว้างปลอดเชื้อ • Stuart transport medium สำหรับหนองจากแผล • Cary-Blair swab สำหรับทำ rectal swab • Lugen tube สำหรับเก็บเสมหะ • ขวดเพาะเชื้อ anaerobic bacteria

  20. เทคนิควิธีการเจาะเลือดเพื่อส่งเพาะเชื้อเทคนิควิธีการเจาะเลือดเพื่อส่งเพาะเชื้อ ** ต้องระวังการปนเปื้อนของเชื้อ normal flora จากผิวหนัง • เลือกเส้นเลือดดำที่เหมาะสม • เช็ดด้วย 70% alcohol ~ 5 cm. ปล่อยให้แห้ง • เช็ดด้วย povidine iodine ทิ้งไว้ 1-2 นาที • รัดสายรัดแขน เหนือบริเวณที่จะทำการเจาะ • แทงเข็มและดูดเลือดออกในปริมาณที่ต้องการ • ฉีดเลือดลงในขวดอาหารเลี้ยงเชื้อ และรีบนำส่งทันที • เช็ดแขนด้วย 70% alcohol อีกครั้ง กรณีไม่สามารถนำส่งทันที สามารถเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้องหรือตู้อบ 35 – 37 องศา

  21. ข้อควรระวังในการเจาะเลือดเพื่อเพาะเลี้ยงเชื้อข้อควรระวังในการเจาะเลือดเพื่อเพาะเลี้ยงเชื้อ • การเกิดอุบัติเหตุของมีคมทิ่มตำ ห้ามสวมปลอกเข็มโดยใช้สองมือ • การปนเปื้อนเชื้อ normal flora จากผิวหนัง ผ่านทางเข็มเจาะเลือด • ต้องผสมเลือดเข้ากับอาหารเลี้ยงเชื้อ หลังจากเติมเลือดลงไป • ปริมาตรของเลือดให้เพียงพอ > 0.1 - 10 ml. • เจาะเลือดห่างกันประมาณ 1 ชั่วโมง 2 – 3 ตัวอย่าง • นำส่งห้องปฏิบัติการโดยเร็วที่สุด • กรณีส่งตรวจไม่ทัน ห้ามแช่เย็น อาจเก็บที่อุณหภูมิห้องหรือตู้อบ 35 องศา

  22. ชนิดของขวดเพาะเชื้อจากเลือด (Automated hemoculture media) • ขวดเพาะเชื้อ แบคทีเรียและเชื้อรา จากเลือด ปัจจุบันใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัท Trek (VersaTrek) โดยมีชื่อขวดเพาะเลี้ยงว่า VersaTREKTM REDOX 1 TMสามารถใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ เจาะเลือด 5 – 10 ml, เด็ก 0.1 – 5 ml VersaTREK BacT/Alert   ไม่ควรติดฉลากทับบาร์โค้ด

  23. ชนิดของขวดเพาะเชื้อจากเลือด (Automated hemoculture media) 2. ขวดเพาะเชื้อ Mycobacteria จากเลือด มีส่วนประกอบของอาหารเลี้ยงเชื้อ กรดไขมัน สารละลายเม็ดเลือด ซึ่งบางส่วนต้องเติมภายหลังจากเจาะเลือดแล้ว • ให้เจาะเลือดใส่หลอด Heparin (Sterile technique) • ขนาด 4 ml เด็ก 1 หลอด, ผู้ใหญ่ 2 หลอด • ผสมให้เข้ากันโดยการกลับหลอด 3 – 5 ครั้ง • เก็บส่งทันที หรือ เก็บตู้เย็นไม่เกิน 1 คืน

  24. การเก็บสิ่งส่งตรวจจากระบบทางเดินหายใจส่วนล่างเพื่อเพาะเชื้อการเก็บสิ่งส่งตรวจจากระบบทางเดินหายใจส่วนล่างเพื่อเพาะเชื้อ ได้แก่ Sputum, tracheal suction, bronchial wash, bronchoalveolar larvage ควรเก็บใส่ภาชนะปลอดเชื้อ (ขวดปากกว้าง , ขวดยาฉีดหรือ lugen tube) และนำส่งโดยเร็ว ถ้าไม่สามารถนำส่งได้ทันทีให้เก็บไว้ที่ตู้เย็น (4oC) ไม่ควรเก็บเป็น swab หรือปลาย tip เพราะจะทำให้ตรวจเพาะเชื้อไม่พบได้ Sputum rejection • Low quality (PMN<25, Epi. >10/LPF • Delayed > 2 day • Tip, swab • Anaerobic culture ปริมาตรที่ใช้ประมาณ 1-5 ml สำหรับแบคทีเรียทั่วไป >5 ml สำหรับ Mycobacteria

  25. การเก็บสิ่งส่งตรวจจากระบบทางเดินปัสสาวะเพื่อเพาะเชื้อการเก็บสิ่งส่งตรวจจากระบบทางเดินปัสสาวะเพื่อเพาะเชื้อ ได้แก่ clean void-midstream urine, catheterization urine, suprapubic aspiration ไม่ควรใช้ tip from Foley catheter clean void-midstream urine ควรเก็บช่วงเช้าหลังตื่นนอนจะดีที่สุด ปริมาตรที่เก็บ ประมาณ10-20 ml ในขวดปากกว้างหรือขวดปลอดเชื้อ การนำส่งควรนำส่งหลังเก็บ ไม่เกิน 2 ชั่วโมงหรือ เก็บในตู้เย็น 4oC ไม่เกิน 24 ชั่วโมง เนื่องจากต้องมีการนับจำนวนของเชื้อและ มีผลต่อการรายงานผลดังนั้น ฉลากและใบนำส่ง ต้องระบุวันและเวลาที่เก็บสิ่งส่งตรวจทุกครั้ง

  26. การเก็บสิ่งส่งตรวจจากระบบทางเดินอาหารเพื่อเพาะเชื้อการเก็บสิ่งส่งตรวจจากระบบทางเดินอาหารเพื่อเพาะเชื้อ สิ่งส่งตรวจที่ใช้คือ rectal swab หรือ stool ที่ถ่ายเหลวและมีมูกเลือด การทำ rectal swab ที่ได้ผลต้องแหย่ swab เข้าในทวารอย่างน้อย 1 นิ้วและ หมุนปลาย swab 1 รอบ และแช่ใน transport medium ให้ท่วม swab การนำส่งควรรีบนำส่งทันที เพื่อให้ตรวจวินิจฉัยได้โดยเร็ว โดยเฉพาะ โรคอหิวาต์ (Cholera diarrhea) ต้องรีบรายงานผลภายใน 24 ชั่วโมง เพื่อที่จะได้ ทำการสอบสวนและควบคุมการระบาดของโรคได้ทันท่วงที ถ้านำส่งไม่ได้ควรเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง ไม่เกิน 24 ชั่วโมง   หลอดนำส่ง : Cary-Blair

  27. Specimen not accepted for anaerobic bacteria • Throat, nasopharyngeal, or gingival swab, sputum, bronchial wash • Gastric content, ileostomy, colostomy • urine (void or cath) • Female genital tract specimen • Surface swab • ใช้ภาชนะบรรจุ/นำส่งไม่ถูกต้อง เช่น swab, แช่เย็น, นำส่งช้า   ** ควรโทรแจ้งก่อนอย่างน้อย 30 นาที For Anaerobic bacteria

  28. การส่งตรวจน้ำไขสันหลังเพื่อเพาะเชื้อ (CSF) การส่งเพาะเชื้อแบคทีเรียควรเก็บอย่างน้อย 0.5 ml และรีบนำส่งทันที ห้ามเก็บในตู้เย็น ถ้าส่งไม่ทันให้เก็บไว้ที่ อุณหภูมิห้อง การเพาะเชื้อ Mycobacteria หรือ TB หรือ Fungus ควรเก็บอย่างน้อย 3 ml และควรแยกภาชนะกับที่จะส่งเพาะเชื้อแบคทีเรียทั่วไป ห้ามแช่เย็นไม่ใช้ swab

  29. การส่งตรวจน้ำจากส่วนต่างๆของร่างกายเพื่อเพาะเชื้อการส่งตรวจน้ำจากส่วนต่างๆของร่างกายเพื่อเพาะเชื้อ เช่น น้ำจากปอด, น้ำจากข้อ เป็นต้น ให้เก็บในภาชนะปลอดเชื้อ ประมาณ 1-5 ml หรือถ้าจะส่งเพาะเชื้อ Mycobacteria ต้องเก็บ 10 - 15 ml และรีบนำส่งทันที ถ้าส่งไม่ทันสามารถเก็บที่ ตู้เย็น ได้ ยกเว้นกรณีสงสัย Haemophilus, Neisseria

  30. การส่งตรวจหนองจากแผลเพื่อเพาะเชื้อการส่งตรวจหนองจากแผลเพื่อเพาะเชื้อ ควรเก็บโดยการใช้ swab ป้ายที่บริเวณที่มีหนองและแช่ swab ลงใน Transport media และนำส่งโดยเร็ว หรือสามารถเก็บไว้ในตู้เย็นเพื่อนำส่ง ในวันต่อไปได้ ห้ามเก็บในตู้เย็นก่อนนำส่งเกิน 2 วัน หนองจากตาและอวัยวะสืบพันธุ์ ควรนำส่งทันที

  31. การส่งตรวจการย้อมสีแกรมหรือสีทนกรด (AFB) ถ้ามีปริมาณ > 0.5 ml ควรใส่ในภาชนะปลอดเชื้อและส่งทันที ห้ามเก็บไว้ข้ามวัน กรณีที่มีปริมาณน้อยให้ป้ายลงบน สไลด์ รอให้แห้งสนิท จึงใส่ถุงพลาสติกนำส่ง โดยให้ระวังการปนเปื้อนและการติดเชื้อจากสิ่งส่งตรวจด้วย  ไม่ควรส่ง swab เหมาะกับส่ง AFB เท่านั้น

  32. การส่งตรวจ Anaerobe กรณีส่งตรวจ anaerobe ต้องเก็บใน anaerobic transport media หรือ ใส่ในขวดปลอดเชื้อให้เต็มไม่มีอากาศเหลืออยู่และรีบนำส่งโดยเร็ว กรณีที่มีปริมาณน้อย อาจใส่ใน syringe และปิดปลายเข็มด้วยจุกยางและนำส่งทันที ห้ามแช่เย็น   ** ควรโทรแจ้งก่อนอย่างน้อย 30 นาที

  33. การเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อเพาะเชื้อไวรัสทางเดินหายใจ สิ่งส่งตรวจที่เหมาะสมได้แก่ Nasopharyngeal aspiration (NPA), nasopharyngeal Swab (NPS), nasal swab (NS) เป็นต้น โดยการเก็บ swab ต้องใช้ลวดอ่อนชนิด dragon, Rayon หรือ poly ester ไม่ควรใช้ชนิด calcium alginate เพราะจะทำให้ผลการเพาะเชื้อผิดพลาดได้ การนำส่งต้องแช่เย็นในน้ำแข็ง ในภาชนะที่ปิดมิดชิด โดยต้องมีการ ประสานงานกับห้องปฏิบัติการเพื่อเตรียมถ่ายเชื้อลงใน viral transport media ก่อนนำส่งเพาะเชื้อต่อไป

  34. การเขียนใบนำส่งที่ถูกต้องการเขียนใบนำส่งที่ถูกต้อง  ชื่อ – สกุล, HN, Ward วันที่ – เวลา เก็บสิ่งส่งตรวจ  ยาที่ผู้ป่วยได้รับ / ต้องการ  รายการตรวจ  Type of Specimen   แพทย์ผู้สั่งตรวจ

  35. Leakage specimen

  36. สถิติส่งส่งตรวจที่ไม่เป็นตามข้อกำหนดสถิติส่งส่งตรวจที่ไม่เป็นตามข้อกำหนด

  37. หน่วยจุลทรรศน์วินิจฉัยหน่วยจุลทรรศน์วินิจฉัย • ตรวจทางโลหิตวิทยา : CBC, ESR, LE, malaria, Inclusion bodies • ตรวจทางจุลทรรศน์ศาสตร์ : UA, Stool exam, cell count, pregnancy • ตรวจการแข็งตัวของเลือด : aPTT, PT, TT • ตรวจพิเศษอื่นๆ : Hb typing, Iron study, cytochem, Flow. For leukemia • บริการ 24 hr. ทุกวันไม่เว้นวันหยุด • สถานที่ : ชั้น 5 อาคาร สว.1 • ใบนำส่ง : สีเหลือง/ชมพู/น้ำตาล • โทร. 043-366985 – 6

  38. Special test available now Von willebrand Factor Factor II, V, VII, X Factor V Leiden D-dimer Plt function test Hb typing for Thalaassemia Flow cytometry for Leukemia

  39. เจาะเลือดให้ได้ปริมาตรที่กำหนดถึงขีดข้างหลอดพอดีเจาะเลือดให้ได้ปริมาตรที่กำหนดถึงขีดข้างหลอดพอดี ถ้าไม่ถึงขีดให้ดัน Syringeให้เลือดถึงขีดปริมาตร

  40. เจาะเลือดไม่ได้อัตราส่วนเจาะเลือดไม่ได้อัตราส่วน

  41. หน่วยเคมีคลินิก • ให้บริการตรวจวัดระดับสารเคมีในร่างกาย : น้ำตาล, ไขมัน, ตับ, ไต, หัวใจ ฯลฯ • Blood gas • บริการ 24 h. Cobas c601, e501, intrega 043-366984

  42. หน่วยภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิกหน่วยภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก ให้บริการตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยา • Bacterial antigen • Infectious markers : HIV, HBV • Tumor markers • Thyroid hormones

  43. Vacuum Tube EDTA 3 ml ฝาสีม่วง For HA1C Vacuum Tube NaF 2 mL. ฝาสีเทา for Glucose ** OGTT ต้องระบุเวลาเจาะด้วยทุกครั้ง Vacuum Tube Clotted Blood ไม่มี Gel for Iron study Serum Iron , UIBC, TIBC, %Tfsat Ferritin Clotted blood 4 mL. For general Chem&Immuno CSF for Bacterial Antigens - S.Pneumoniae - H.Influenza B - Streptococcus B - N.Meningitidis

More Related