1 / 90

วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 54101

วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 54101. 19 กันยายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 1, 2, 3, 13, 14. Basic Engineering for Occupational Health and Safety 54101. ภูมิมินทร์(นิพล) นามวงศ์. ปริญญาตรี รป.บ.(รัฐประศาสนศาสตร์) มสธ. รุ่นที่ 17

jafari
Download Presentation

วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 54101

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย54101วิศวกรรมพื้นฐานสำหรับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย54101 19 กันยายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 1, 2, 3, 13, 14 Basic Engineering for Occupational Health and Safety 54101

  2. ภูมิมินทร์(นิพล) นามวงศ์ ปริญญาตรี • รป.บ.(รัฐประศาสนศาสตร์) มสธ. รุ่นที่17 • บธ.บ.(การจัดการทั่วไป) มสธ. รุ่นที่22 • ป.อป.(อาชีวอนามัยฯ) มสธ. Cert. • ส.บ. (อาชีวอนามัยฯ) มสธ. รุ่นที่27 ปริญญาโท • รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันรัชต์ภาคย์ *เดิมชื่อ วิทยาลัยรัชต์ภาคย์

  3. ประวัติการทำงาน • บจก.เอเชีย อินเตอร์เนชั่นแนล • บจก.เวิร์คแมน คอร์ปอเรชั่น • กลุ่ม ร.พ.เกษมราษฎร์(sub-contract) • ร.พ.แม่น้ำ(ร.พ.ปากเกร็ดเวชการเดิม) อ.ปากเกร็ด • บจก.ไซมีสไทร์(ธุรกิจผลิตยางรถต่างๆ) • บจก.เคแอลเค อินดัสตรี(ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์) • สถาบันรัชต์ภาคย์*(สถาบันอุดมศึกษา) ๒๕๕๐ –ปัจจุบัน *ชื่อเดิม วิทยาลัยรัชต์ภาคย์

  4. หน่วยที่๑ พื้นฐานวิศวกรรมศาสตร์และอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ๑.วิศวกรรมศาสตร์ ? ................... ๒.Engineering = ..................... ๓.Engineering ? ..................... ศาสตร์หรือวิชาเกี่ยวกับการนำความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้พัฒนาหาคำตอบที่ประหยัดและเหมาะสมเพื่อแก้ปัญหาความต้องการของมนุษย์ ๑-๕

  5. ความเหมือนและความแตกต่าง ความเหมือนและความแตกต่าง Engineer วิศวกร ประยุกต์ความรู้ในการออกแบบ พัฒนาอุปกรณ์ โครงสร้าง กระบวนการต่างๆ (มุ่งที่จะทำงาน) Scientist นักวิทยาศาสตร์ จะใช้ความรู้พื้นฐานดังกล่าวในการแสวงหาหรือค้นหาความรู้ใหม่ๆ (มุ่งแสวงหาความรู้) Scientist จะสำรวจว่าปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นคืออะไร Engineer จะสร้างสิ่งที่ยังไม่เคยมีมาก่อน ๑-๕

  6. สิ่งที่เหมือนกัน Engineer วิศวกร ต้องความรู้พื้นฐานทางด้าน คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ Scientist นักวิทยาศาสตร์ ต้องมีความพื้นฐานทางด้าน คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ (เวกเตอร์, พีชคณิต, แคลคูลัส) วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์, เคมี)

  7. ความสำคัญวิศวกรรมศาสตร์ • คิดค้นพัฒนาแหล่งพลังงาน พัฒนาเครื่องจักรอุปกรณ์อนุรักษ์พลังงาน • เทคโนโลยีทางการเกษตร คิดค้นพัฒนาเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร • พัฒนาโครงสร้างสิ่งก่อสร้างที่ทนทานต่อภัยธรรมชาติ • พัฒนาเทคโนโลยีในการควบคุมมลพิษทางด้านสิ่งแวดล้อม **มนุษย์อาศัยวิศวกรรมศาสตร์เป็นส่วนหนึ่งในการดำรงชีวิตและอยู่รอด ของเผ่าพันธุ์ พัฒนามาตรฐานการครองชีพของมนุษย์** ๑-๖

  8. วิศวกรรมศาสตร์สาขาหลัก ๕ สาขา(อธิบายรายละเอียดวิศวกรรมศาสตร์สาขาหลักได้) • วิศวกรรมโยธา • วิศวกรรมเครื่องกล • วิศวกรรมไฟฟ้า • วิศวกรรมเคมี • วิศวกรรมอุตสาหการ ๑-๗-๑๓

  9. วิศวกรรมโยธา civil eng (เก่าแก่ที่สุด) • สิ่งก่อสร้างต่างๆ เช่น บ้าน อาคาร ถนน โรงงานอุตสาหกรรม สะพาน เขื่อน สนามบิน ท่าเรือ ฯลฯ นาย ก. เป็นเจ้าของบ้านไปหาชื่ออุปกรณ์มาทำที่อยู่ให้สุนัขนอนอย่างสบาย? (นักวิทยาศาสตร์, วิศวกร, วิศวกรรมโยธา) ๑-๗

  10. วิศวกรรมเครื่องกล mechanical eng • เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรกลและกระบวนการทางเครื่องกล เช่น การผลิตและการเปลี่ยนรูปพลังงาน การเขียนแบบ กลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของเครื่องจักรกล การเปลี่ยนรูปพลังงาน อุณหพลศาสตร์ ถ่ายเทความร้อน การทำความเย็นการปรับอากาศ การเผาไหม้ การออกแบบเครื่องจักร ระบบควบคุม ฯลฯ ๑-๘

  11. วิศวกรรมไฟฟ้า electrical eng • เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ วงจร และระบบไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า สนามแม่เหล็กไฟฟ้า วิเคราะห์การทำงาน อิเล็กทรอนิคส์ สื่อสารโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ ระบบควบคุมอัตโนมัติ การออกแบบระบบต่างๆ การประยุกต์เทคโนโลยีด้านวิศวกรรมไฟฟ้าเพื่อใช้(อุตสาหรรม ธุรกิจ การแพทย์ การเกษตร) ฯลฯ ๑-๙

  12. วิศวกรรมเคมี chemical eng • เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตต่างๆ ทางอุตสาหกรรม เช่น การเปลี่ยนแปลงส่วนผสม สถานะทางเคมี ลักษณะวัตถุดิบ การควบคุมปฏิกรณ์เคมีและกระบวนการต่างๆ การเดินหน่วยปฏิบัติการ การคำนวณดุลมวลและพลังงาน ตลอดจนเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ฯลฯ ๑-๑๐

  13. วิศวกรรมอุตสาหการ industrial eng • เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในอุตสาหกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การวางแผน การควบคุม การผลิต เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและมีต้นทุนต่ำ วัสดุวิศวกรรม กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การวางผังโรงงาน วิศวกรรมความปลอดภัย วิศวกรรมซ่อมบำรุง เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม วิจัยและการดำเนินงาน ฯลฯ ๑-๑๑

  14. วิศวกรรมเครื่องกล และ วิศวกรรมอุตสาหการแตกต่างกันอย่างไร • ขอบข่ายการศึกษาเนื้อหาวิชา (หลักสูตร) • ความยากง่ายของเนื้อหาวิชา • ความต้องการของตลาดแรงงาน • ความสามารถของคน* • อัตราค่าตอบแทน • การประกอบธุรกิจของบริษัทนั้นๆ • วิศวกรรมเครื่องกล มุ่งที่จะศึกษา............................. • วิศวกรรมอุตสาหการ มุ่งที่จะศึกษา...........................

  15. วิศวกรรมศาสตร์ที่แตกแขนงจากวิศวกรรมโยธาวิศวกรรมศาสตร์ที่แตกแขนงจากวิศวกรรมโยธา • วิศวกรรมโครงสร้าง(โครงสร้างเหล็ก ไม้ คอนกรีตเสริมเหล็ก) • วิศวกรรมสำรวจ(ระบบฉายแผนที่ สำรวจงานระนาบ) • วิศวกรรมปฐพี(ดิน หิน แร่) • วิศวกรรมการขนส่ง • วิศวกรรมการบริหารการก่อสร้าง • วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ • วิศวกรรมชลประทาน**(เขื่อน ฝาย ) (ระบบสูบน้ำ) • วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม**ระบบการประปา? (ระบบสูบน้ำ) ๑-๑๓-๑๔

  16. วิศวกรรมศาสตร์สาขาอื่นๆวิศวกรรมศาสตร์สาขาอื่นๆ • วิศวกรรมการเกษตร • วิศวกรรมอากาศยาน • วิศวกรรมยานยนต์ • วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ • วิศวกรรมซอฟแวร์ • วิศวกรรมอิเล็กทรอนิคส์ • วิศวกรรมอาหาร • วิศวกรรมการผลิตอุตสาหกรรม • วิศวกรรมความปลอดภัย • วิศวกรรมวัสดุ • วิศวกรรมเหมืองแร่ ๑-๑๔-๑๕

  17. วิศวกรรมศาสตร์สาขาหลักวิศวกรรมศาสตร์สาขาหลัก วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม • วิศวกรรมโยธา • วิศวกรรมเหมืองแร่* • วิศวกรรมไฟฟ้า • วิศวกรรมเครื่องกล • วิศวกรรมอุตสาหการ • วิศวกรรมโยธา • วิศวกรรมเคมี* • วิศวกรรมไฟฟ้า • วิศวกรรมเครื่องกล • วิศวกรรมอุตสาหการ ๑-๑๖ ๑-๑๓

  18. ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแบ่งเป็น 4ระดับ • ภาคีวิศวกร • ภาคีวิศวกรพิเศษ • สามัญวิศวกร • วุฒิวิศวกร ๑-๑๖

  19. Occupational Health and Safety(ความหมาย) • ศาสตร์หรือระบบวิชาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพการงานให้มีสภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายจิตใจและสามารถดำรงชีพอยู่ในสังคมได้ด้วยดี รวมทั้งดูแลให้ผู้ประกอบอาชีพการงานให้มีความปลอดภัยปราศจากภัยคุกคาม อันตราย บาดเจ็บ สูญเสีย รวมถึงความเสี่ยงต่างๆ • องค์การอนามัยโลก (WHO) Healthว่าสภาวะที่สมบูรณ์ดีทั้งทางร่างกาย(physical health) ทางจิตใจ(mental health) และสามารถดำรงชีพอยู่ในสังคมได้ด้วยดี(social well-being) ๑-๑๘

  20. ความสำคัญของอาชีวอนามัยและความปลอดภัยความสำคัญของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย • ความสำคัญต่อฝ่ายลูกจ้าง • ความสำคัญต่อฝ่ายนายจ้าง • ความสำคัญต่อภาครัฐ ๑-๑๙

  21. พนักงานประสบอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน ขาดรายได้, ครอบครัว (ลูกจ้าง) ยอดการผลิตลดลง ค่าสวัสดิการ จ้างคนมาแทน (นายจ้าง) สูญเสียค่าพื้นฟู/ค่ายา (ภาครัฐ)

  22. ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย • สุขศาสตร์อุตสาหกรรม/อาชีวสุขศาสตร์(Industrial Hygiene or Occupational Hygiene) • อาชีวนิรภัย(Occupational Safety) • การยศาสตร์/จิตวิทยาในการทำงาน(Ergonomics and Work Psychology) • อาชีวเวชศาสตร์/เวชศาสตร์อุตสาหกรรม(Occupational Medicine or Industrial Medicine) ๑-๒๑-๒๒-๒๓

  23. ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย • สุขศาสตร์อุตสาหกรรม/อาชีวสุขศาสตร์ (ตระหนัก ประเมิน ควบคุม ฝุ่น แสง เสียง) • อาชีวนิรภัย (ป้องกันอุบัติเหตุ) • การยศาสตร์/จิตวิทยาในการทำงาน (สรีรวิทยา ร่างกาย ) • อาชีวเวชศาสตร์/เวชศาสตร์อุตสาหกรรม (แพทย์ พยาบาล ตรวจวินิจฉัย) ๑-๒๒-๒๓

  24. ความจำเป็นวิศวกรรมศาสตร์ในการศึกษาอาชีวอนามัยฯความจำเป็นวิศวกรรมศาสตร์ในการศึกษาอาชีวอนามัยฯ ♠การนำความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ฯ 1.พื้นฐานการศึกษาศาสตร์ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2. วิเคราะห์ประยุกต์ใช้ในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ♠♠ประโยชน์ในการประสานงานกับวิศวกรสาขาต่างๆ 1.พิจารณาปรึกษาวิศวกรสาขาต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง 2.สื่อสารกับวิศวกรสาขาต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑-๒๖-๒๗

  25. มิติ(dimension)๒ ประเภท • มิติพื้นฐาน(fundamental dimensions) คือกลุ่มมิติที่ง่ายในการแปลง หรือกล่าวได้ว่าเป็นมิติที่มีหน่วยเดี่ยวๆ ได้แก่ ความยาว มวล เวลา กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิ ปริมาณสาร ความเข้มแสง • มิติอนุพันธ์(derived dimensions)คือมิติที่เกิดจากมิติพื้นฐานรวมกัน ตำราบางเล่มจึงเรียกว่ามิติประกอบ ได้แก่ พื้นที่ ปริมาตร ความเร็ว ความเร่ง ความหนาแน่นมวล แรง พลังงาน ๑-๓๒-๓๓

  26. ตัวอุปสรรค (prefix) ? เอซะ E 1018 เพตะ P 1015 เทรา T 1012 จิกะ G 109 เมกะ M 106 กิโล k 103 เฮกโต h 102 เดกะda 101=10 เดชิ d 10-1 เซนติ c 10-2 มิลลิ m 10-3 ? ๑-๓๘

  27. หน่วยที่ ๒ แบบพื้นฐานทางวิศวกรรมโยธา • แบบก่อสร้าง (construction drawing) รูปภาพแสดงขนาด รูปร่างและรายละเอียดขององค์อาคาร โดยมีการกำหนดค่าระดับและมิติที่ถูกต้องและครบถ้วน เพื่อให้ผู้อ่านแบบมีความเข้าใจในรายละเอียดขององค์อาคาร และสามารถก่อสร้างได้ตรงตามรายละเอียดที่สถาปนิกและวิศวกรได้ออกแบบไว้ ๒-๕

  28. ที่มาและความจำเป็นของแบบก่อสร้างที่มาและความจำเป็นของแบบก่อสร้าง • การออกแบบ • ขออนุญาตปลูกสร้างและดัดแปลงอาคาร • การเสนอราคาและประมูลงาน • การทำสัญญาว่าจ้าง • การก่อสร้างและการตรวจรับงาน • ขั้นตอนการต่อเติมหรือดัดแปลงอาคาร* • ขั้นตอนการบำรุงรักษาอาคาร • ในกรณีฉุกเฉิน ๒-๕,๖,๗

  29. ประเภทของแบบก่อสร้าง ๓ ประเภท • 1.แบบสถาปัตยกรรม(architectural drawing) แสดงรูปลักษณ์ ขนาด ตำแหน่ง รูปทรง และรายละเอียดต่างๆ ของอาคาร แบบสถาปัตยกรรมเป็นหัวใจสำคัญของโครงการก่อสร้างทุกประเภท (สถาปนิก) • 2.แบบโครงสร้าง(structural drawing)หรือบางครั้งเรียกว่า แบบวิศวกร แสดงรายละเอียดโครงสร้างอาคารที่ได้รับการออกแบบโดยวิศวกร แบบโดยทั่วไปจะแสดงฐานราก เสา คาน พื้น บันได หลังคาฯลฯ (วิศวกร) ๒-๘,๑๖

  30. แบบสถาปัตยกรรมจะแสดงรายละเอียดแบบสถาปัตยกรรมจะแสดงรายละเอียด • แบบรูปด้านหน้า(front view) • แบบรูปด้านหลัง(back view) • แบบรูปด้านข้าง(side view) • แบบรูปด้านบน(top view) • รูปแบบแปลนหรือผังพื้น • แบบรูปตัด(section view) • แบบขยาย • ผังที่ตั้งโครงการและผังบริเวณ ๒-๙-๑๓

  31. แบบโครงสร้างจะแสดงรายละเอียด (ดูหน้า๒-๑๖,๑๗) 3.แบบงานระบบ (system drawing) แสดงระบบต่างๆ ที่ติดตั้งในอาคาร เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องกล ระบบปรับอากาศ ระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบสุขาภิบาลฯลฯ (ดู๒-๑๘) ๒-๑๘

  32. แบบสถาปัตยกรรม ลักษณะการออกข้อสอบในหน่วยนี้จะให้รูปมาแล้วตอบ (ให้ฝึกดูรูปว่าเป็น ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านข้าง หรือด้านบน) (หน่วยที่ 2หน้า 9-10) ๒-๙-๑๓

  33. สถาบันรัชต์ภาคย์

  34. แบบสถาปัตยกรรมภายนอก แบบสถาปัตยกรรมภายใน

  35. มาตราส่วน(scale) อธิบายรายละเอียด • มาตราส่วน(scale)คืออัตราส่วนที่วัดได้จากรูปในแบบก่อสร้างเทียบกับขนาดจริงขององค์อาคาร เช่น มาตราส่วน 1 : 10, 1 : 20, 1 : 5 เป็นต้น ถ้าใช้มาตราส่วน 2 : 1จะได้หรือไม่? • กรณีที่ผู้เขียนแบบต้องการเขียนภาพขยายขนาด อาทิ การใช้มาตราส่วน 2 : 1ในกรณีเขียนภาพขยายขนาดเป็นสองเท่าของขนาดจริงเพื่อเพิ่มความชัดเจน ๒-๒๕

  36. แบบรูปด้าน แบบแปลน แบบรูปตัด ประเทศไทยส่วนใหญ่นิยมเขียนด้วยมาตราส่วน? • ประเทศไทยนิยมใช้มาตราส่วน 1 : 100 • แบบขยายเขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 20 • ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของรูปและความเหมาะสมของรายละเอียดที่ต้องการนำเสนอ จากแบบก่อสร้าง 2, 3, 5เซนติเมตร ระยะจริง? กำหนดให้มาตราส่วน 1 : 100 ๒-๒๕

  37. สัญลักษณ์ ๓ ประเภทใหญ่ๆ • สัญลักษณ์(symbol)คือองค์ประกอบของรูป เส้น และตัวหนังสือที่ใช้อธิบายรายละเอียดใบแบบก่อสร้าง • ๑. สัญลักษณ์อ้างอิง(reference symbol) • ๒. สัญลักษณ์ของวัสดุ(material symbol)กรวด คอนกรีต ทราย ก่ออิฐ • ๓. สัญลักษณ์วัตถุ(object symbol) วาล์ว มาตรวัดน้ำ ช่องอากาศ สวิตซ์ โคมไฟ หัวฉีดดับเพลิง แผงควบคุม ☺ให้นักศึกษาฝึกดูรูปในหน่วยนี้☺ ๒-๒๖-๒๗

  38. ความแตกต่างวัสดุและวัตถุความแตกต่างวัสดุและวัตถุ • วัสดุ(material symbol)ใช้ในการแสดงประเภทของวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง • วัตถุ(object symbol) ใช้ในการแสดงประเภท ตำแหน่งและจำนวนของวัตถุที่จะติดตั้งภายในอาคาร ๒-๓๐

  39. เส้น (line) 3ประเภท (ให้ดูรูป ๒-๓๑) • เส้นหนามาก นิยมใช้การเขียนเส้นรอบรูป ขอบเขตของพื้นที่ หรือกรณีที่ต้องการเน้นความสำคัญขององค์ประกอบ • เส้นหนา นิยมใช้ในการเขียนรายละเอียดทั่วไปภายในอาคาร • เส้นบาง นิยมใช้ในการเขียนบอกขนาด เขียนเส้นฉาย และการเขียนเส้นลงเงา ๒-๓๐,๓๒

  40. การกำหนดขนาด หรือ มิติ • เส้นฉาย เป็นเส้นที่ลากออกจากวัตถุเป็นแนวเส้นตรงมายังเส้นมิติ ๒-๓๑ • เส้นมิติ เป็นเส้นที่ใช้กำหนดความยาวของวัตถุในแต่ละช่วง ๒-๓๓ • ตัวเลขบอกขนาด เป็นตัวเลขที่บอกระยะจริงที่เขียนกำกับไว้บนเส้นมิติเพื่อความชัดเจนและความสะดวกในการอ่านแบบ ๒-๓๑

  41. กระดาษเขียนแบบ(ใหญ่สุด/เล็กสุด)กระดาษเขียนแบบ(ใหญ่สุด/เล็กสุด) 1,189x841 841x594 594x420 420x297 297x210 • A0 • A1 • A2 • A3 • A4 การเลือกกระดาษขึ้นอยู่กับขนาดอาคารที่ได้รับการออกแบบและมาตราส่วนที่ใช้ในการเขียนแบบ ความเหมาะสม ความสมบูรณ์ อ่านได้ชัดเจน ๒-๓๖

  42. หน้าที่ของเหล็กเส้นในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กหน้าที่ของเหล็กเส้นในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก • ช่วยต้านทานแรงดึง • ช่วยต้านทานแรงอัด • ช่วยต้านทานแรงเฉือน • ช่วยป้องกันการแตกร้าวของคอนกรีต ๒-๓๙-๔๐

  43. ชนิดของเหล็กเส้น ๒ แบบ • เหล็กเส้นกลม (round bar)RB • เหล็กเส้นข้ออ้อย (deformed bar)DB RB25? DB25? เหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒๒ มิลลิเมตร? เหล็กเส้นข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๓๔ มิลลิเมตร? ๒-๔๐,๔๑

  44. ป RB 9 มม@ 0.18ม. (กลม) • ป DB 6 มม@ 0.15ม. (ข้ออ้อย) เหล็กเส้นที่มีชั้นคุณภาพ SR24, SD30 • SR 24เหล็กเส้นกลมที่มีความแข็งแรงที่จุดครากอย่างต่ำ ๒,๔๐๐ กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร • SD 30เหล็กข้ออ้อยที่มีความแข็งแรงที่จุดครากอย่างต่ำ ๓,๐๐๐ กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ๒-๔๗

  45. 3DB16MM RB9MM@0.20M 3DB16MM round bar(กลม) & deformed bar(ข้ออ้อย)

  46. ข้อพึงระวังในการอ่านแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ (๒) • รูปหน้าตัด ขนาดและชั้นคุณภาพเหล็กรูปพรรณที่ใช้ • ตำแหน่งและทิศทางการวางเหล็กรูปพรรณ • การอ่านแบบรูปบันไดเหล็กรูปพรรณ (ให้ดูรูป p 2-59) ๒-๔๘-๕๓

  47. ข้อพึงระวังในการอ่านแบบโครงสร้างไม้ (๓) • ขนาดและชนิดของไม้ที่ใช้ • ตำแหน่งและทิศทางการวางไม้ • รอยต่อระหว่างชิ้นส่วนของไม้ • อุปกรณ์ที่นิยมใช้ ๔ ชนิด • ตะปู ตะปูควง • สลักเกลียว ตะปูเกลียว ๒-๖๑,๖๒,๖๓

  48. หน่วยที่ ๓ วิศวกรรมโครงสร้างงานอาคาร • หลังคา • แป รับน้ำหนักจากหลังคา • จันทัน รับน้ำหนักจาก แป จันทันมี ๒ ประเภท 1.จันทันเอกที่วางตามแนวเสา 2.จันทันพรางที่วางไม่ตรงแนวเสา • อกไก่ รับน้ำหนักจากจันทันเอกและจันทันพราง • ดั้ง รับน้ำหนักจากอกไก่ที่อยู่ตามแนวจันทันเอกและส่งผลให้ หลังคามีทรงสูงขึ้นหรือแบนราบ • อะเส รับน้ำหนักจากจันทันเอกและจันทันพราง ยึดหัวเสาไห้มั่นคง • ขื่อ รับน้ำหนักจากดั้งและยึดหัวเสาให้มั่นคง • เชิงชาย ปิดซ้ายโครงหลังคาให้ดูสวยงามและป้องกันนกเข้าไปทำรัง ในหลังคา ๓-๙,๑๐,๑๑

  49. การถ่ายน้ำหนัก น้ำหนักหลังคา แป จันทัน (จันทันเอกและจันทันพราง) อกไก่ อะเส ดั้ง ขื่อ ๓-๘ เสา

More Related