1 / 65

ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ ( Emotion Quotient)

ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ ( Emotion Quotient). pittha_pho@hotmail.com 089-131-8028. ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ (Emotion Quotient). ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ คือ ความสามารถทางอารมณ์ ในการดำเนินชีวิตอย่างสร้างสรรค์และมีความสุข

onofre
Download Presentation

ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ ( Emotion Quotient)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ (Emotion Quotient) pittha_pho@hotmail.com 089-131-8028

  2. ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์(Emotion Quotient) ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์คือ ความสามารถทางอารมณ์ ในการดำเนินชีวิตอย่างสร้างสรรค์และมีความสุข การรู้จักความฉลาดทางอารมณ์ของตนเอง เพื่อการพัฒนา และการใช้ศักยภาพตนเองในการดำเนินชีวิตครอบครัว การทำงานและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและประสบความสำเร็จ

  3. อีคิว (E.Q.) กับ ไอคิว (I.Q.) ต่างกันอย่างไร • ไอคิว (Intelligence Quotient) หมายถึง ความฉลาดทางเชาว์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคำนวณ การเชื่อมโยง • อีคิว (Emotional Quotient) หมายถึง ความฉลาดทางอารมณ์ เป็นความสามารถในการรับรู้ และเข้าใจอารมณ์ทั้งของตัวเอง และของผู้อื่น ตลอดจนสามารถปรับ หรือควบคุมได้อย่างเหมาะสมกับสภาพการณ์

  4. ความแตกต่างระหว่าง IQ และ EQ IQ EQ เป็นค่าตัวเลข / ผลลัพธ์ที่ได้จากการ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมินความฉลาด ประเมินความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา ทางอารมณ์ ไม่สามารถทำนายความสำเร็จในการ ทำนายความสำเร็จในการศึกษา การ ศึกษา / การงาน และความสำเร็จใน ทำงาน และความสำเร็จในชีวิตได้ พัฒนาสูงสุดได้จนถึงอายุ 25 ปี พัฒนาได้ตลอดชีวิต เป็นประโยชน์ในการจัดการเรียน ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง การสอน

  5. ลักษณ์ของผู้มี EQ สูง - ต่ำ Steve Hein (1999) ได้ให้รายการลักษณะที่บ่งชี้ถึงความเป็นผู้ที่มี EQ สูงและต่ำ ผู้ที่มี EQ สูง ผู้ที่มี EQ ต่ำ 1. แสดงความรู้สึกของตนออกมาได้ชัดเจน 1. ไม่รับผิดชอบต่อความรู้สึกของตนแต่ ตรงไปตรงมา วิพากษ์ตำหนิผู้อื่น 2. ไม่ถูกครอบงำโดยความรู้สึกในทางลบ 2. บอกไม่ได้ว่าทำไมตนถึงคิดรู้สึกเช่นนั้น ต่าง ๆ 3. สามารถอ่านภาษาท่าทางในการสื่อสาร 3. กล่าวหาโจมตี ตำหนิ ตัดสิน ทำลายขวัญ ได้ดี กำลังใจผู้อื่น 4. ชีวิตผสานจากเหตุผล ความเห็นจริง 4. มุ่งวิเคราะห์ผู้อื่นมากกว่าแสดงความ ตรรกะ ความรู้สึกและสามัญสำนึกอย่าง เข้าอกเข้าใจ ได้ดุล

  6. ลักษณ์ของผู้มี EQ สูง - ต่ำ ผู้ที่มี EQ สูง ผู้ที่มี EQ ต่ำ 5. พึ่งพาตนเองได้ มีความเป็นอิสระด้านการ 5. บุ่มบ่ามทึกทัก มักคิดแทนเรา เช่น “ผมคิด ให้เหตุผลทางจริยธรรม (เชื่อหรือเดา) ว่าคุณ....” 6. สร้างแรงจูงใจที่ดีให้เกิดภายในตนได้ 6. แสดงความไม่ซื่อตรงเกี่ยวกับความรู้สึก นึกคิดของตน 7. สามารถนำเอาภาวะอารมณ์ของตน 7. พูดสะท้อนความรู้สึกนึกคิดของตนสูง กลับคืนสู่สภาวะปกติได้ หรือต่ำกว่าความเป็นจริง 8. มองโลกในแง่ดี ไม่ยอมแพ้กับอุปสรรค 8. ทำเรื่องเล็กให้เป็นเรื่องใหญ่ บางทีก็แสดง หรือปัญหา ปฏิกิริยากับสิ่งเล็กๆ น้อยๆ อย่างเกินเหตุ 9. สนใจและให้ความสำคัญกับความรู้สึกของ 9. ขาดสติสัมปชัญญะ สิ่งที่พูดกับสิ่งที่ทำ ผู้อื่น ไม่ตรงกัน

  7. ลักษณ์ของผู้มี EQ สูง - ต่ำ ผู้ที่มี EQ สูง ผู้ที่มี EQ ต่ำ 10. ไม่ถูกครอบงำโดยความกลัวหรือความ 10. ผูกใจเจ็บ อาฆาตแค้น ให้อภัยคนไม่ได้ วิตกกังวล 11. ชอบทำให้ผู้อื่นรู้สึกว่าเขาผิด 11. สามารถระบุความรู้สึก / ภาวะอารมณ์ 12. ยัดเยียดความรู้สึกนึกคิดต่างๆ ให้คู่ฟัง ทางลบต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตนเองในขณะ / คนอื่น นั้นได้ 13. เผยความรู้สึกที่แท้จริงที่เกิดขึ้นกับตัวเอง12. รู้สึกเป็นธรรมชาติเมื่อพูดเกี่ยวกับ ไม่ได้ ความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ 14. ไม่ใส่ใจในความรู้สึกนึกคิดของผู้อื่น 13. ชีวิตไม่ถูกชี้นำโดยอำนาจ ความร่ำรวย 15. พูดออกมาโดยไม่คิดถึงหัวอกผู้อื่น เกียรติศักดิ์ศรี ตำแหน่งชื่อเสียง หรือ 16. ยึดมั่นในความคิดความเชื่อของตนเอง การได้รับการยอมรับ ใจไม่เปิดกว้าง

  8. ลักษณ์ของผู้มี EQ สูง - ต่ำ ผู้ที่มี EQ สูง ผู้ที่มี EQ ต่ำ 14. กล้าเผยความรู้สึกนึกคิดของตนเองเอง 17. เป็นผู้ฟังที่ไม่ดี พูดขัดจังหวะ บั่นทอน ออกมา ขวัญและกำลังใจของคู่สนทนา เน้น 15. มองหาแง่มุมที่ดีจากภาวะอารมณ์ในทาง ข้อเท็จจริงมากเกินไป โดยไม่คำนึงถึง ลบ หรือในสถานการณ์อันเลวร้าย ความรู้สึก 16. แยกแยะสิ่งที่เป็นความคิดออกจาก 18. ใช้ภูมิปัญญาของตน วิพากษ์ ตำหนิผู้อื่น ความรู้สึกได้ สร้างภาพว่าตนฉลาดเหนือกว่าผู้อื่น ไม่รู้ไม่สนใจว่าคนอื่นจะมองตนอย่างไร

  9. ความสัมพันธ์ระหว่าง IQ และ EQ 1. IQ สูงอย่างเดียว อาจไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร 2. IQ ธรรมดา + EQ สูง ทำให้ประสบความสำเร็จ 3. IQ สูง + EQ สูง ยิ่งประสบความสำเร็จมาก 4. EQ สูง ทำให้การเรียนรู้ดีขึ้น

  10. การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ผลที่ได้ ผลทางบวก ควบคุมตนเอง สร้างแรงจูงใจไปสู่ความสำเร็จ ป้องกันความขัดแย้งระหว่างบุคคล ตนเอง และคนรอบข้างมีความสุข ต่อตนเอง ต่อครอบครัว ต่อการทำงาน ต่อสังคม ลดความขัดแย้ง ทำให้ครอบครัวเป็นสุข เป็นแบบอย่างในการ เลี้ยงดูสมาชิก เกิดความร่วมมือ และสัมพันธภาพที่ดีในการทำงาน มีความ คิดดีและสร้างสรรค์ ไม่มีอารมณ์มารบกวนในการทำงาน เสริมสร้างและพัฒนาสังคม ป้องกันปัญหาต่าง ๆ ในสังคม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่คนในสังคม

  11. ประโยชน์ของ EQ • พัฒนาการด้านอารมณ์ และบุคลิกภาพเด็ก • - กำหนดบุคลิกภาพที่พึงปรารถนา • - สร้างวุฒิภาวะสมวัย การปรับตัว การแก้ปัญหาความเครียดและความกดดันในชีวิต • - ควบคุมอารมณ์ในภาวะของการแข่งขันได้ดี • - อยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี

  12. พัฒนาการสื่อสาร และการแสดงความรู้สึกในอารมณ์ของตน • - กำหนด แสดงอารมณ์ได้ถูกกาละเทศะ • - เข้าอกเข้าใจความรู้สึกของคนอื่น • - สามารถจะยิ้มได้ แม้ในใจจะรู้สึกเศร้า ทรมาน • - รับฟังปัญหาของผู้อื่นได้ อย่างตั้งใจ • - ไม่รู้สึกแปลกแยกจากเพื่อนมนุษย์ สังคม ธรรมชาติ และชีวิตของตน

  13. การปฏิบัติงาน EQ ช่วยให้ • - ยอมรับความคิดริเริ่ม ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ • - ยอมรับการเปลี่ยนแปลง • - ลดการลา ขาดงาน ย้ายงาน • - มีปฏิสัมพันธ์ รู้จักการประสานงาน สานสัมพันธ์ มนุษย์สัมพันธ์ดี • - เคารพความคิดเห็นของคนอื่น • - ปรับตัวในสถานการณ์ต่างๆ ในที่ทำงานได้ดี

  14. การให้บริการ EQ ช่วยให้ • - รู้จักผู้ที่มีคุณประโยชน์ต่อตน ลูกค้า ผู้มารับบริการ • - รับฟังความต้องการ และตอบสนองได้ดี • - สามารถที่จะชักจูงผู้อื่นให้เห็นประโยชน์ที่จะได้รับจากตนได้ดี • - สามารถทำให้คนอื่นมีความอยากที่จะมาใช้บริการต่อไป หรือมาทำความรู้จัก ลึกซึ้ง ต่อไป

  15. การบริหารจัดการ EQ ช่วยให้ • - รู้จักใช้คนและครองใจคนได้ • - เรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ • - โน้มน้าวผู้อื่นให้ทำตามที่ตนต้องการได้สำเร็จ • - สามารถทำให้คนเกิดความสุขในการทำงาน • - สามารถทำให้คนรักงาน องค์กร • - พูดและดำเนินการตามที่พูด • - กล้าแสดงออก และถูกต้องตามกาละเทศะ

  16. การเข้าใจชีวิตตนและคนอื่น การเข้าใจชีวิตตนและคนอื่น • - รู้จักมองเข้าไปในจิตใจของตน เข้าใจตนอย่างถ่องแท้ • - เข้าใจคนอื่น เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กัน • - มุ่งใช้ศักยภาพของตนเต็มที่ต่อกิจกรรมต่างๆ ในการดำรงชีวิตประจำวัน • - มีความสุขกับชีวิตและครอบครัว

  17. สรุป

  18. ความสำคัญของความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ความสำคัญของความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ จะทำให้ ตัวเรา อยู่กับ คนอื่น ได้ดี มีความสุข และประสบความสำเร็จในชีวิต 1

  19. ความสำคัญของความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ความสำคัญของความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ 2 เป็นคนดี รู้จักอารมณ์ มีน้ำใจ รู้ว่าอะไรผิดถูก

  20. ความสำคัญของความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ความสำคัญของความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ เป็นคนเก่ง กระตือรือร้น สนใจใฝ่รู้ ปรับตัวได้ดี กล้าพูด กล้าบอก 3

  21. ความสำคัญของความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ความสำคัญของความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ มีความสุข มีความพอใจ อบอุ่นใจ สนุกสนานร่าเริง 4

  22. กรมสุขภาพจิตได้พัฒนาแนวคิดเรื่องความฉลาดทางอารมณ์ ประกอบด้วยปัจจัยสำคัญ 3 ประการ คือ • ดี • เก่ง • สุข ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเอง ดี หมายถึง รู้จักเห็นใจผู้อื่น มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม

  23. ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเองความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเอง • รู้จักอารมณ์และความต้องการของตนเอง • ควบคุมอารมณ์และความต้องการได้ • แสดงออกอย่างเหมาะสม

  24. ความสามารถในการเห็นใจผู้อื่นความสามารถในการเห็นใจผู้อื่น • ใส่ใจผู้อื่น • เข้าใจและยอมรับผู้อื่น • แสดงความเห็นใจอย่างเหมาะสม

  25. ความสามารถในการรับผิดชอบความสามารถในการรับผิดชอบ • รู้จักการให้ รู้จักการรับ • รู้จักรับผิด รู้จักให้อภัย • เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ความสามารถในการรู้จักและสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง เก่ง หมายถึง ความสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหา ความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น

  26. ความสามารถในการรู้จักและสร้างแรงจูงใจให้ตนเองความสามารถในการรู้จักและสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง • รู้ศักยภาพของตนเอง • สร้างขวัญและกำลังใจให้ตนเองได้ • มีความมุ่งมั่นที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย

  27. ความสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหาความสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหา • รับรู้และเข้าใจปัญหา • มีขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม • มีความยืดหยุ่น

  28. ความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่นความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น • รู้จักการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น • กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม • แสดงความเห็นที่ขัดแย้งได้อย่างสร้างสรรค์ ความสามารถในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข ภูมิใจในตนเอง สุข หมายถึง พึงพอใจในชีวิต มีความสงบทางใจ

  29. ภูมิใจในตนเอง • เห็นคุณค่าในตนเอง • เชื่อมั่นในตนเอง พึงพอใจในชีวิต • รู้จักมองโลกในแง่ดี • มีอารมณ์ขัน • พอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่

  30. มีความสงบทางใจ • มีกิจกรรมที่เสริมสร้างความสุข • รู้จักผ่อนคลาย • มีความสงบทางจิตใจ

  31. การพัฒนาอารมณ์ ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์(Emotion Quotient) มนุษย์ ใช้อารมณ์ แต่ ไม่ค่อยพัฒนาอารมณ์ EQ 1

  32. การเสริมสร้าง EQ การเสริมสร้าง EQ ด้วยการเรียนรู้ 3 ประการ 1.ละทิ้งพฤติกรรมเดิม (Unlearning) ทิ้ง ความคิดเดิม ความเชื่อเดิม พฤติกรรมที่เป็นผลเสียต่อตน พฤติกรรมที่สังคมไม่ยอมรับ หาทางปรับพฤติกรรมของตน 2.การเรียนรู้ใหม่ (Relearning) ฝึกควบคุมตนเอง ฝึกเอาใจเขามาใส่ใจเรา ฝึกฟัง ฝีกแสดงออกที่ดี

  33. 3.การเรียนรู้เพิ่ม (Learning) ฝึกการทำความเข้าใจภาวะอารมณ์ของคนอื่น ฝึกทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ฝึกการพิจารณาเชื่อมโยงผลอันเนื่องมาจากการกระทำของตนเอง การวัด EQ มีการวัดหลากหลายรูปแบบ เช่น แบบวัดที่เป็นคำถาม อ่านความรู้สึกจากสีหน้า รายงานภาวะอารมณ์จากคำคุรศัพท์ต่างๆ เช่น ดีใจ เสียใน ห่อเหี่ยว วิตก ฯลฯ รายงานอารมณ์จากภาพ

  34. การพัฒนาความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์การพัฒนาความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ • 1. รู้จักอารมณ์ตนเอง • 2. การจัดการ (บริหาร) อารมณ์ตนเอง • 3. การสร้างการจูงใจให้ตนเอง • 4. การหยั่งรู้อารมณ์ของผู้อื่น • 5. การรักษาความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน EQ 2

  35. การรู้จักอารมณ์ตนเอง 1. ให้เวลา ทบทวน พิจารณา คล้อยตามสิ่งใด ผล 2. ฝึกการรู้ตัวบ่อยๆ มีสติ มีผลอย่างไรต่อการแสดงออก EQ 3

  36. การจัดการ(บริหาร) อารมณ์ตนเอง  ลักษณะใดที่ควรกระทำ - ผลตามมา 1. แสดงออกทันที 2. เก็บกดไว้ 3. โทษผู้อื่น 4. ระบายออกอย่างเหมาะสม EQ 4

  37. การฝึกจัดการอารมณ์ 1. ทบทวน ทำอะไรได้บ้าง 2. เตรียม ทำ - ไม่ทำ 3. รับรู้ ในด้านดี 4. สร้างความรู้สึกที่ดี ตนเอง รอบข้าง 5. หาโอกาส จาก อุปสรรค EQ 5

  38. วิธีระงับและควบคุมอารมณ์วิธีระงับและควบคุมอารมณ์ • 1. สำรวจอารมณ์ที่เกิดขึ้น - ใช้วิธีการฝึกสติ • 2. คาดการณ์ถึงผลดี - ผลเสียของการแสดงอารมณ์นั้น ๆ • 3. พยายามควบคุมอารมณ์ด้วยวิธีต่าง ๆ • 3.1 หายใจเข้า - ออก ยาว ๆ • 3.2 นับ 1 - 10 หรือนับต่อจนสงบ • 3.3 ปลีกตัวหลีกห่างจากสถานการณ์นั้น ๆ ชั่วคราว • 3.4 กำหนดลมหายใจ ให้สติอยู่ มีการหายใจเข้า - ออก • 4. สำรวจความรู้สึกของตัวเองอีกครั้ง และชื่นชมกับการที่ตนเองสามารถผ่อนคลายอารมณ์ได้ • 5. คิดถึงเรื่องอื่นที่ไม่ใช่เรื่องที่ทำให้อารมณ์ขุ่นมัวเศร้าหมอง 25

  39. อริยสัจ 4 • 1. ทุกข์คิดรู้และเข้าใจปัญหา • 2. สมุทัย คิดพิจารณาถึงสาเหตุของปัญหา • 3. นิโรธ คิดตริตรอง พิจารณาวิธีแก้ปัญหา • 4. มรรค นำความรู้ ความเข้าใจ ความคิด • ที่ถูกต้องไปใช้แก้ปัญหา 26

  40. อิทธิบาท 4ทางแห่งความสำเร็จ • 1. ฉันทะ คือ ความมีรัก • 2. วิริยะ คือ ความเพียรพยายาม • 3. จิตตะ คือ จิตใจฝักใฝ่ • 4. วิมังสา คือ การใช้สติปัญญาหาเหตุผล 27

  41. 5 ย. • ยิ้ม = ยิ้มแย้มแจ่มใส เบิกบาน • เย็น = ใจเย็น ไม่วู่วาม อดทน • ยอ = คนมักชอบการเยินยอ • ยอม = ไม่ดื้อดึง โอนอ่อนผ่อนตาม คนอื่นบ้าง เสียสละ • ยึด = ยึดมั่นในหลักการ 28

  42. พูดแต่ดี • อย่าดีแต่พูด 29

  43. การสร้างแรงจูงใจให้ตนเองการสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง 1. ทบทวน สิ่งที่สำคัญต่อชีวิต2. ตั้งเป้าหมาย3. ระวัง มุ่งมั่น 4. ยืดหยุ่น ลดความสมบูรณ์แบบ5. หาประโยชน์จากอุปสรรค 6. มองโลกในแง่ดี เชิงบวก 7. สร้างความหมายในชีวิต ภูมิใจ 8. ให้กำลังใจตัวเอง เราทำได้ EQ 6

  44. การหยั่งรู้อารมณ์ผู้อื่นการหยั่งรู้อารมณ์ผู้อื่น 1. สนใจการแสดงออก 2. อ่านอารมณ์ 3. ทำความเข้าใจอารมณ์ 4. ตอบสนอง ให้รู้ว่า เข้าใจ เห็นใจ EQ 7

  45. ทฤษฎีแรงจูงใจ • แรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ • แรงจูงใจอำนาจ • แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์

  46. แบบคัดกรองความฉลาดทางอารมณ์แบบคัดกรองความฉลาดทางอารมณ์ ดี เก่ง สุข EQ 8

  47. ศิลปการทำงานร่วมกัน มีเมตตารู้จักอภัยซึ่งกันและกัน ยอมเสียเปรียบบ้าง เพื่อจะมีโอกาสได้เปรียบ พูดแต่สิ่งดีๆ กับเพื่อนร่วมงาน แชร์ความทุกข์ - สุขร่วมกันในผลงานทีม รักษามารยาท และวินัยอย่างเคร่งครัด หลีกเลี่ยงการยืมของใช้, อุปกรณ์จากผู้อื่น 0

  48. หลีกเลี่ยงการเล่นการพนัน, แชร์ กับ เพื่อนร่วมงาน ไม่แสดงความดูถูก ชิงชัง ไม่นำเรื่องส่วนตัวมาพัวพันกับงานที่ทำ ไม่กล่าวร้าย, นินทาเจ้านายให้เพื่อนฟัง จุดประกายไฟให้ตนเอง ขยันงานอยู่เสมอ เห็นปัญหาเป็นเรื่องงานที่ท้าทาย มีจิตใจเป็นนักประชาธิปไตย เปิดใจกว้าง ศิลปการทำงานร่วมกัน

  49. สุขกันเถอะเรา สุขกันเถอะเราเศร้าไปทำไม อย่ามัวอาลัยคิดร้อนใจไปเปล่า เกิดมาเป็นคน อดทนเถอะเรา อย่ามัวซมเซาทุกคนเราทนรัน โลกคือละครอย่าอาวรณ์เลย สุขทุกข์อย่างเคยรับแล้วเป็นเช่นกัน ปล่อยไปตามบุญและกรรมบันดาล อย่ามัวโศกศัลย์ยิ้มสู้มันเป็นไร (หมู่ชาย) เชิญสำราญร่วมเบิกบานดวงใจ ลืมทุกข์ไปทำให้ใจเริงรื่น สุขกันเถอะดี อย่ามัวรีรอ อย่าทำหน้างอ ยิ้มนิดพอใจชื่น ชีพจะดำรง อยู่ยงคงคืน ต่ออายุยืน ยิ้มนิดเดียวให้ชื่นใจ โลกคือละคร ทุกคนต้องแสดง ทุกคนทนไป อย่าอาลัย ยิ้มกันสู้ไปจะได้สบาย

  50. สื่อสารไม่รู้เรื่อง 5W1H

More Related