1 / 32

แนวทางการถ่ายระดับ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานเสริมสร้างสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ตามนโยบายกรมควบคุม

แนวทางการถ่ายระดับ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานเสริมสร้างสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ตามนโยบายกรมควบคุมโรค ปี 2553. สุจิตรา อังคศรีทองกุล กรมควบคุมโรค วันที่ 22 มกราคม 2553. ภาพที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะของระยะ ทิศทาง ตำแหน่ง ในการปฏิบัติการหรือสิ่งที่เราจะทำ . แผนที่.

mahdis
Download Presentation

แนวทางการถ่ายระดับ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานเสริมสร้างสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ตามนโยบายกรมควบคุม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานเสริมสร้างสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ตามนโยบายกรมควบคุมโรค ปี 2553 สุจิตรา อังคศรีทองกุล กรมควบคุมโรค วันที่ 22 มกราคม 2553

  2. ภาพที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะของระยะ ทิศทาง ตำแหน่ง ในการปฏิบัติการหรือสิ่งที่เราจะทำ แผนที่ ยุทธศาสตร์ วิธีการ สำคัญที่ทำให้ไปถึงจุดหมายปลายทางที่ตั้งไว้ ดีที่สุด หรือวิธีการที่จะทำให้งานสำเร็จ

  3. มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มุมมองเชิงคุณค่า (ประชาชน) มุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ภาคี) มุมมองการบริหารจัดการ(กระบวนการ) มุมมองการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน)

  4. ตั้งต้นที่วิสัยทัศน์ “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” หัวใจของความสำเร็จคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  5. การดำเนินงาน SRM/SLM ตามนโยบายกรม • กลุ่ม NCD เป็นเจ้าภาพ แต่ใช้เครือข่ายกลุ่มงาน/กลุ่มโรคทุกกลุ่มร่วมกัน เช่นกลุ่ม สว./NCD/แมลง/SALT/ติดต่อทั่วไป /ระบาดฯฯลฯ) • พื้นที่ดำเนินการ 1 จังหวัด 1 พื้นที่ (พื้นที่ตามประเด็นปัญหาโรค หรือ มีกองทุนสุขภาพ ของอบต. (งบ PP ตำบล) หรือ รพสต. หรืออื่นๆ ไม่จำเป็นต้องโรคทาง NCD /แมลง โรคอื่นๆ ตามปัญหาได้ )(กำลังขับเคลื่อน SLM รายประเด็นของสำนักที่เหลือ ให้แล้วเสร็จเดือนมีนาคม 2553 ตามนโยบาย)

  6. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วม ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค สร้างเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2552 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพและเป็นจริง พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

  7. ตัวชี้วัดความสำเร็จของนโยบาย • ตามโครงการที่แต่ละหน่วยงานกำหนด KPI ความสำเร็จ • มีและใช้โครงการแก้ไขปัญหาโรคของกรมโดยชุมชน (จากการใช้ SLM และตาราง 11 ช่อง หรือใช้ Mini-SLM ตาราง 11 ช่อง • มีมาตราการทางสังคมในการจัดการแก้ไขปัญหาโรคของกรม • มีการเฝ้าระวัง โรค หรือ สังคม หรือ พฤติกรรม หรือ สิ่งแวดล้อมในชุมชนโดยชุมชนเลือกตัวใดตัวหนึ่งได้ เป็นประเด็นในการจัดการนำ SRM/SLM สู่การปฏิบัติ

  8. การดำเนินงาน SRM/SLM ตามนโยบายกรม • สิ่งที่ต้องทำเพิ่มเติม นโยบาย (ท่านรองสมศักดิ์) -สคร2. เพิ่มเรื่องบ่อขยะ ทีจ.สระบุรี (อาจปรับพื้นที่สระบุรี) -สคร3. เพิ่ม มาบตาพุด จ.ระยอง • ตัวชี้วัดโครงการเครือข่ายฯใน P1 ตามแนวทางกองแผน (คุณพรทิพย์ รับผิดชอบกำหนดตัวชี้วัด) • โครงการนี้กองแผนกำหนดถอดบทเรียนความสำเร็จของโครงการ ตามนโยบายเรื่องนี้ในเดือน สิงหาคม 2553(ควรกำหนดกิจกรรมให้สอดคล้องกับเวลาภาพรวมของกรม)

  9. ประมินความสำเร็จของการใช้ SRM/SLM ตามนโยบาย • ใช้ แนวทางการประเมินนำเสนอเมื่อ วันที่ 21 มกราคม 2553 • ใช้ Model ช่วยในการประเมิน เช่น CIPP, System Model หรืออื่นๆภาพรวมกรมประเมินประสิทธิภาพ (กระบวนการนำ SLM สู่การปฏิบัติให้เห็นภาพรวมของกระบวนการทั้งหมด ใช้เวที่ติดตามทุกเดือนจาก VDO Conference และประชุมเครือข่ายเรื่องนี้ จากการถอดบทเรียนเป็นระยะ เพื่อนำเสนอเชิงนโยบายในการขับเคลื่อนเรื่องนี้ในปี 2554 ของกรมอย่างเป็นระบบ (ใช้การวิเคราะห์เชิงนโยบาย ตามกรอบแนวคิด Policy Cycle อาจให้กองแผนเป็นเจ้าภาพ หรือ เครือข่ายสว.ที่จะเกิดขึ้นใหม่) • การประเมินตามแนวทางอื่นที่ไม่ได้ขับเคลื่อนจาก SLM ไม่ใช้ในโครงการนี้

  10. ขั้นตอนการดำเนินงาน • แต่งตั้งคณะทำงานระหว่างกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องของสคร. 1-12 กำหนดรูปแบบ แนวทางการขับเคลื่อนตามนโยบายกรม (ควรทุกกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้) • แต่งตั้งคณะทำงานระหว่างสคร. 1-12 และศูนย์อนามัยสิ่งแวดล้อม 1-12 กำหนดรูปแบบ แนวทางการขับเคลื่อนงานตามนโยบายกรม • สคร./ศูนย์อนามัยฯ ประสานจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ และถ่ายทอดทิศทางSLM /จุดหมายปลายทางและนิยามจุดหมายปลายทางของสำนักที่เป็นนโยบายหลัก

  11. ขั้นตอนการดำเนินงาน 4. แต่งตั้งคณะทำงานระดับเขต (สคร./ศูนย์อนามัย/สสจ./สปสช.ฯลฯ) กำหนดรูปแบบ ออกแบบกระบวนการ แนวทางการทำงาน และเลือกพื้นที่ร่วมกัน) 5. สคร. 1-12 และศูนย์อนามมัยสิ่งแวดล้อม 1-12 ทบทวน SLM ของสำนักจัดทำ SLM พร้อมตาราง 11 ช่อง (ช่องที่ 1,2,3,4,6,7,11) ตามประเด็นปัญหาโรคของพื้นที่จากข้อ 2 ให้เป็นภาพรวมทางวิชาการ (เห็นกิจกรรมที่บูรณาการร่วมกัน) 6. พัฒนาวิทยากรหลักและวิทยากรกระบวนการเรื่องการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของสคร. หรือเครือข่ายตามคณะทำงานในข้อ 4

  12. ขั้นตอนการดำเนินงาน 7. ประสานพื้นที่อบต.แจ้งทิศทางแนวทางและประโยชน์ทีอบต./ชุมชนจะได้รับ กำหนดวันและกลุ่มเป้าหมายให้อบต.ดำเนินการนัดหมาย (อาจจัดทำข้อตกลงระหว่าง อบต.) 8. จัดประชุมในพื้นที่ตามกลุ่มเป้าหมาย นำชุมชนจัดทำ SLM พร้อมตาราง 11 ช่อง และ Mini –SLM (ถ้ายังไม่ได้รับการถ่ายระดับจากอำเภอ) กำหนดผู้รับผิดชอบในระดับชุมชน ระยะเวลาประมาณ 3 วันใช้งบประมาณของสคร.(P1) ร่วมกับศูนย์อนามัย (ถ้ามี)หรือเครือข่ายอื่นๆ กรณีมี SLM ที่ถ่ายระดับ ให้ทบทวนในขั้นตอนที่ 1 กำหนดประเด็นที่จะพัฒนา และทำตาราง 11 ช่องร่วมกัน ถ้าไม่ชำนาญ ในการทำ Mini-SLM ให้ใช้ตาราง 11 ช่อง แทน

  13. ขั้นตอนการดำเนินงาน • ติดตามพัฒนาเครือข่ายชุมชนเขียนแผนงานโครงการ(ตามตาราง 11 ช่อง กำหนดผู้รับผิดชอบของชุมชนในแต่ละเป้าประสงค์) และเปิดงานในชุมชน • กำหนดช่วงวันและเวลาติดตามงานในพื้นที่ ของเครือข่ายเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง (อาจใช้เครือข่ายจังหวัด หรืออำเภอ หรือตำบล) และกำหนดการรายงานผลในภาพรวมให้สคร.และเครือข่ายรับทราบร่วมกัน หรือลงพื้นที่เองไม่ควรต่ำกว่า 3 ครั้งละ 1-2 วัน (พิจารณาตามความเหมาะสมของพื้นที่)

  14. ขั้นตอนการดำเนินงาน 11. อาจจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกวดผลงานในพื้นที่ระดับเขตจากผลงานของชุมชน 12.ถอดบทเรียนทุกครั้งที่ดำเนินการในพื้นที่ เพื่อได้ภาพรวมของการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางพัฒนางานในแต่ละช่วงเวลาให้ได้ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

  15. การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ • จากยุทธศาสตร์ที่มีอยู่แล้วเขียนเป็นแผนที่ความคิด(Mind map) • จากแผนที่ความคิด สร้างผังจุดหมายปลายทาง พร้อมคำอธิบาย • จากผังจุดหมายปลายทาง สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์

  16. การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • จากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • สร้างแผนที่ฯฉบับปฏิบัติการ โดยเลือกทางเดินที่สั้นที่สุด สะดวกที่สุดและสิ้นเปลืองน้อยที่สุดที่จะไปให้ถึง “จุดหมายปลายทาง” • แผนที่ฯฉบับปฏิบัติการ (SLM)มีเส้นทางน้อยกว่าและระยะเวลาการใช้สั้นกว่าแผนที่ฉบับใหญ่ • จากแผนที่ฉบับนี้ สร้างแผนปฏิบัติการ • แผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) แสดงเส้นทางเดินของกิจกรรมสำคัญและตัวชี้วัดสำหรับกิจกรรมเหล่านั้น

  17. กิจกรรมสำคัญนำไปสร้างแผนปฏิบัติการกิจกรรมสำคัญนำไปสร้างแผนปฏิบัติการ KPIต้องตอบสนองเป้าประสงค์ในช่อง 1

  18. การทดสอบระบบปฏิบัติการบนโต๊ะ จากMini SLM ใน 2 ประเด็น

  19. 2 การนำนวัตกรรมสังคมเข้าสู่ระบบ แนวคิด • ต้องการเครื่องมือทางสังคม (เทคนิคนวัตกรรมสังคม)เพื่อสร้างบทบาทใหม่ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของประชาชน เนื่องจากบทบาทดังกล่าวจะเกี่ยวเนื่องผูกพันกับมาตรการทางสังคมอย่างใกล้ชิด • ใช้เทคนิคการค้นหาศักยภาพของชุมชนโดยประชาชน เพื่อให้ประชาชน ค้นพบและเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง • ใช้เทคนิคการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของเจ้าหน้าที่และประชาชนเป็นจุดตั้งต้นของการสร้างบทบาทใหม่ของประชาชน

  20. 2 การนำนวัตกรรมสังคมเข้าสู่ระบบ (ต่อ) • การนำเทคนิคทางสังคมเข้าสู่ระบบเริ่มที่ระดับพื้นฐาน จากการปรับกระบวนทัศน์ของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย พร้อมทั้งการสร้างทักษะในการดำเนินกระบวนการทางสังคม • งานอีกชิ้นหนึ่งที่ต้องเปิดพร้อมกัน คือการปรับปรุงคลังข้อมูลให้ครอบคลุมข้อมูลทางสังคมด้วย จากนั้นจึงบูรณาการ เทคนิคทางสังคมเข้าสู่เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ โดยสร้างกลยุทธ์สำคัญด้านสังคมไว้ในกล่องเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่เห็นว่าเหมาะสม (ภาพต่อไป)

  21. กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนกลยุทธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน 1 อบรมแผนที่ยุทธศาสตร์/จัดการ นวัตกรรม จัดระบบวางแผนสุขภาพชุมชน จัดระบบสื่อสาร 3 สร้างนวัตกรรมกระบวนการ PP /รูปแบบประกันสุขภาพโดยท้องถิ่น 2 ใช้กลยุทธ์พัฒนาบทบาทประชาชน สร้างและบริหารเครือข่าย จัดระบบข้อมูล

  22. ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 1.ตั้งคณะทำงานจัดการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มีสสจ.เป็นประธาน สมาชิกมีทุกระดับตั้งแต่จังหวัด ( งานพัฒนายุทธศาสตร์ ส่งเสริมฯ ประกันสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภค ฯลฯ) ถึงท้องถิ่น มีหน้าที่หลัก คือ (1) การจัดการที่เกี่ยวข้องกับแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ (2) การพัฒนาบทบาทประชาชน (3) การจัดการนวัตกรรม 2.คัดเลือกกองทุนฯต้นแบบอำเภอละ 1 แห่ง 3.ให้อำเภอตั้งคณะทำงานประกอบด้วยภาคีที่มีส่วนสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 4.ส่งวิทยากรที่คัดสรรแล้วเข้าร่วมเป็นทีมวิทยากรเขต ที่ใช้หมุนเวียนสนับสนุนจังหวัดภายในเขต (สปสช. เขต เป็นผู้จัดการ) สนับสนุนทีมวิทยากรเขตพัฒนากองทุนต้นแบบเป็นโรงเรียนสำหรับสอนกองทุนอื่นๆต่อไป กองทุนต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นโรงเรียน ต้องมีโครงการที่สามารถแสดงผลการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของประชาชนได้อย่างน้อย 3 ใน 5 โครงการต่อไปนี้ (1) โครงการเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม (2) โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อ (3) โครงการควบคุมโรคติดต่อ (4) โครงการเกี่ยวกับอาหารหรือโภชนาการ (5) โครงการอนามัยแม่และเด็กหรืออนามัย โรงเรียน

  23. ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 7. ทุกจังหวัดจะได้รับจุดหมายปลายทางและแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ร่วม (SLM) ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค ให้นำไปปรับใช้ในระดับอำเภอและตำบลตามแนวทางในภาพ “การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น” โดยให้ถ่ายระดับแผนที่ฯไปจนได้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM 8. การวางงานในระดับท้องถิ่น ให้ใช้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM” ที่สร้างจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ทำการปรับปรุงเนื้อหาของแผนงานโครงการสุขภาพของ อปท. ให้สอดคล้อง ถือเป็นเงื่อนไขหนึ่งของการมอบอำนาจจากสาธารณสุขสู่ท้องถิ่น อาจทำเป็นข้อตกลงในระดับจังหวัดถ้าจำเป็น 9.หากท้องถิ่นพิจารณาเห็นสมควร อาจใช้ตัวอย่างแผนปฏิบัติการที่แนบมา เนื่องจากได้พิสูจน์แล้วว่าสามารถทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ในระยะเวลาอันสั้น หมายเหตุ: ข้อเสนอจาก อจ.อมร นนทสุต ประชุมวิชาการกระทรวง สธ.ที่อุดรธานี วันที่ 27 กันยายน 2552 ที่ สปสช.19/0665 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2552

  24. ผังแนวคิด: การสร้างงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พ.ศ. 2553 สสส. สป./กรมฯ สปสช. สำนักตรวจฯ สนย. วิทยากร SRM เขต วิทยากรSRM จังหวัด ฟื้นความรู้ พัฒนาพร้อมM&E โรงเรียน อสม. 3 แห่ง/จ.ว. สถาบันนวัตกรรม ฯ IPI M & E โครงการพัฒนา รพสต.โดยกรม สบส. วิทยากร SRM อำเภอ/ตำบล ฝึกงาน ร.ร.อสม (ร.ร.นวัตกรรมสุขภาพชุมชน) เปิดงาน โครงการฯ อสม ใช้แผนปฏิบัติการจาก SRM อปท รพสต กองทุนฯ

  25. การถ่ายระดับแผนที่ยุทธศาสตร์จากระดับอำเภอสู่ตำบลนั้น เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ • ขั้นตอนนี้มีความสำคัญมาก เนื่องจากจะเป็นขั้นตอนหลักสำหรับกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลที่ต้องทำได้ด้วยตนเอง • แผนที่ยุทธศาสตร์ที่จะใช้ในระดับตำบลนั้นเราใช้ชื่อว่า แผนปฏิบัติการ หรืออาจจะเรียกว่าเป็น Mini-SLM

  26. แหล่งที่มา • แผนที่ยุทธศาสตร์ในระดับอำเภอมีแหล่งที่มา 2 แหล่งคือ • จากแผนที่ยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด (แผนที่หลัก) • จากแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) จากกรมวิชาการ ซึ่งจะส่งมาเป็นรายประเด็นพร้อมตารางนิยามเป้าประสงค์เฉพาะประเด็นนั้นๆ (โปรดดูภาพต่อไป)

  27. กระบวนการระดับอำเภอ • ปรับแผนที่ยุทธศาสตร์กรม/จังหวัดให้สอดคล้องกับบริบทของอำเภอ • การปรับเริ่มทำที่จุดหมายปลายทางก่อน • ก้าวต่อไปตามขั้นตอน หรือถ้าไม่มีแผนที่ฯกรม/จังหวัดก็ให้สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์(ฉบับหลัก)และแผนที่ฯฉบับปฏิบัติการของอำเภอพร้อมตารางนิยามวัตถุประสงค์ซึ่งปรับปรุงใหม่ มี 11 ช่อง • แต่ในระดับอำเภอจะนิยามเป้าประสงค์แต่ละข้อเพียง 6 ช่อง คือช่อง 1 2 3 4 6 7 (โปรดดูภาพตาราง 11 ช่อง)

  28. ด้วยความขอบคุณ

More Related