1 / 12

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( TQF )

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( TQF ). หลักการสำคัญของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. ๑ . เป็นเครื่องมือในการนำแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน

kaoru
Download Presentation

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( TQF )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF)กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF)

  2. หลักการสำคัญของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติหลักการสำคัญของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ๑. เป็นเครื่องมือในการนำแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การจัดการศึกษาตามที่กำหนดใน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติฯ ในส่วนที่เกี่ยวกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาสู่การปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม ๒. มุ่งเน้นที่ผลการเรียนรู้(Learning Outcomes) 5 ด้าน ซึ่งเป็นมาตรฐานขั้นต่ำเชิงคุณภาพเพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต ๓. มุ่งประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องหลักสูตรและ การจัดการเรียนการสอนเข้าไว้ด้วยกันและเชื่อมโยงให้เป็นเรื่องเดียวกัน ๔. เป็นเครื่องมือการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความเข้าใจและ ความมั่นใจในกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้อง/มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น นักศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ประกอบการ ชุมชน สังคมและสถาบันอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศเกี่ยวกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่คาดว่าจะพึงมี

  3. หลักการสำคัญของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ (ต่อ) ๕. มุ่งให้คุณวุฒิหรือปริญญาของสถาบันใดๆของประเทศไทย เป็นที่ยอมรับและเทียบเคียงกันได้กับสถาบันอุดมศึกษาที่ดีทั้งใน และต่างประเทศ โดยเปิดโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัด หลักสูตรตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย โดยมั่นใจถึงคุณภาพของบัณฑิตซึ่งจะมีมาตรฐานผลการเรียนรู้ ตามที่มุ่งหวัง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุขและภาคภูมิใจ เป็นที่พึงพอใจของนายจ้าง ๖. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

  4. ทักษะ ทักษะ ความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ คุณธรรม หน่วยกิต ระหว่างบุคคล เชิงตัวเลข ขั้นต่ำ * จริยธรรม และความ และการใช้ รับผิดชอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ ๑๒๐ ๑๕๐ ๑๘๐ ๕.ประกาศนียบัตรบัณฑิต ขั้นสูง ๔๘ หลัง ป.โทหรือ ๗๒ หลัง ป.ตรี หมายเหตุ :* ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร X เครื่องหมาย X ที่มีจำนวนมากน้อยต่างกัน หมายถึง การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ความรู้ และทักษะต่าง ๆ ในลักษณะสะสมของแต่ละคุณวุฒิ ตารางความสัมพันธ์ระหว่างระดับคุณวุฒิ จำนวนหน่วยกิตขั้นต่ำ ของหลักสูตรและมาตรฐานผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะทาง ระดับคุณวุฒิ ปัญญา การสื่อสาร ๑.อนุปริญญา (๓ ปี) ๒.ปริญญาตรี (๔ ปี) (๕ ปี) (๖ ปี) ๒๔ หลัง ป.ตรี ๓.ประกาศนียบัตรบัณฑิต ๓๖ หลัง ป.ตรี ๔.ปริญญาโท ๒๔ หลัง ป.โท ๖.ปริญญาเอก

  5. ตัวอย่างมาตรฐานผลการเรียนรู้หลักสูตรตัวอย่างมาตรฐานผลการเรียนรู้หลักสูตร วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์การอาหาร และการกระจายความรับผิดชอบสู่รายวิชา

  6. ผลการเรียนรู้ ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๑) มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งงาน รายบุคคลและงานกลุ่ม ๒) สามารถปรับตัวเข้าทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะ ผู้นำและสมาชิกกลุ่ม ๓) วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ๔) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑) สามารถระบุและใช้เทคนิคทางสถิติ และคณิตศาสตร์ ๒) สามารถสรุปประเด็น และสื่อสาร ทั้งการพูด และการเขียน และเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอ ๓) สามารถระบุเข้าถึงและคัดเลือกแหล่งข้อมูล ๔) มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และใช้อย่าง สม่ำเสมอในการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสาร ข้อมูล และแนวความคิด ๕) สามารถใช้คอมพิวเตอร์จัดการเก็บข้อมูล ๖) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตามความก้าวหน้า ๗) สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและภาษาอังกฤษใช้งานได้อย่างเหมาะสม ๑. คุณธรรมจริยธรรม ๑) มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตาม จรรยาบรรณวิชาชีพ ๒) แสดงความซื่อสัตย์สุจริตอย่างสม่ำเสมอ ๓) มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ๔) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและ สังคม ๕) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ๒. ความรู้ ๑) มีความรู้หลักการทฤษฏี ๒) มีความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ๓) รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางวิชาการและเปลี่ยนแปลง ๓. ทักษะทางปัญญา ๑) สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจประเมิน ข้อมูลจากหลักฐานใหม่ แล้วนำข้อสรุปมาใช้ ๒) สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนและเสนอแนว ทางแก้ไขที่สร้างสรรค์ ๓) สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจในบริบททางวิชาการ และวิชาชีพ ๔) มีทักษะภาคปฏิบัติ ตามที่ได้รับการฝึกฝน ที่มา: แบบ มคอ.๒ รายละเอียดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๓

  7. ที่มา: แบบ มคอ.๒ รายละเอียดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๓ ม.สหศาสตร์

  8. ขั้นตอนการดำเนินการตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ และ การประเมินผลการดำเนินการของหลักสูตร

  9. ประเมิน การดำเนินการ ตาม TQF ใช่ สกอ.เผยแพร่หลักสูตรที่ดำเนินการได้มาตรฐาน TQF ประกาศ ศธ. เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ .พ.ศ. ๒๕๕๒ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ประกาศ กกอ. เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาต่างๆ เกณฑ์กำหนดชื่อปริญญา สกอ. หลักเกณฑ์การเทียบโอน เกณฑ์/แนวทางอื่น ๆ มหาวิทยาลัย สภาสถาบันอนุมัติ เสนอ วางแผนปรับปรุง + พัฒนา รายละเอียดของหลักสูตร (Programme Specification) เสนอ รายละเอียดของรายวิชาและภาคสนาม/ฝึกงาน (ถ้ามี) (Course + Field Experience Specifications) สกอ. รับทราบ หลักสูตรและ บันทึกไว้ในฐาน ข้อมูล รายงานประจำภาค /ประจำปีการศึกษา (Semester/Annual Programme Report) กระบวนการเรียนการสอน (ที่ทำให้บรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง) รายงานรายวิชา (Course Reports) การวัดและประเมินผล มุ่งเน้นผลการเรียนรู้ของนักศึกษา/บัณฑิต (POD Network) Teaching Unit การจัดสิ่งอำนวยความสะดวก สภาพแวดล้อม

  10. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน ๑. อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อ วางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร ๒. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๒ ที่สอดคล้องกับกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) ๓. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตาม แบบ มคอ.๓ และ มคอ.๔ อย่างน้อยก่อนการเปิดสอน ในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบ ทุกรายวิชา ๔. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของ ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตอบแบบ มคอ.๕ และ มคอ.๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา ๕. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๗ ภายใน ๖๐ วัน หลัง สิ้นสุดปีการศึกษา ๖. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.๓ และมคอ.๔ (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา

  11. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (ต่อ) • มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผล การเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.๗ ปีที่แล้ว • อาจารย์ใหม่(ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียน การสอน • อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ๑๐. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ต่อปี ๑๑. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐ ๑๒. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐

  12. สถาบันอุดมศึกษาอาจกำหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติม ให้สอดคล้องกับพันธกิจและวัตถุประสงค์ของสถาบันฯ หรือกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานที่สูงขึ้น เพื่อการยกระดับมาตรฐานของตนเองโดยกำหนดไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร ทั้งนี้ หลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาทุกระดับคุณวุฒิต้องมีผลการดำเนินการที่บรรลุตามเป้าหมายตัวบ่งชี้ทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ดีจึงจะได้รับการเผยแพร่หลักสูตรที่ได้มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยเกณฑ์การประเมินผ่านคือ มีการดำเนินงานตามข้อ 1 – 5 และอย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปี

More Related