1 / 57

การออกแบบและวางผังโรงงาน Plant Layout and Design

การออกแบบและวางผังโรงงาน Plant Layout and Design. การออกแบบและวางผังโรงงาน Plant Layout and Design. โรงงาน ( Plant )

Download Presentation

การออกแบบและวางผังโรงงาน Plant Layout and Design

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การออกแบบและวางผังโรงงานPlant Layout and Design

  2. การออกแบบและวางผังโรงงานการออกแบบและวางผังโรงงาน Plant Layout and Design โรงงาน ( Plant ) สถานที่รวมของปัจจัยการผลิต Input เข้าไว้ด้วยกัน ตลอดจนสิ่งสนับสนุนต่างๆ เพื่อทำให้เกิดผลผลิต Output ที่อยู่ในรูปแบบของ Product หรือ Services โดยดำเนินการไปเพื่อจัดประสงค์หลังคือ สนองความต้องการของมนุษย์

  3. การวางผังโรงงาน • คือการจัดเตรียม เครื่องมือ เครื่องจักรและสิ่งอำนวยความสะดวกในการผลิตและติดตั้งในตำแหน่งที่เหมาะสม

  4. นิยามเพื่อความเข้าใจในขอบเขตของการดำเนินงานนิยามเพื่อความเข้าใจในขอบเขตของการดำเนินงาน • การออกแบบวางแผนโรงงาน ( Plant Design ), (Factory Planning ) หมายถึง การวางแผนงานทั้งหมดของกิจการตั้งแต่เริ่ม ตลอดจนการวางแผนด้านการเงิน ที่ตั้ง และการวางแผนส่วนที่สำคัญทั้งหมดเกี่ยวกับโรงงาน • 2. การวางผังโรงงาน ( Plant Layout ) หมายถึง เป็นการวางแผนเพื่อจัดวางสิ่งต่างๆภายในโรงงานให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม และเกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุด

  5. ความสำคัญของโรงงาน ต่อการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม • โรงงานเปรียบเสมือนหัวใจของการผลิต • โรงงานคือดัชนีชี้วัดความเจริญเติบโตเชิงเศรษฐกิจ • โรงงานคือสถานที่ผลิตที่ต้องการปริมาณมากๆ • โรงงานคือแหล่งสร้างงาน และธุรกิจต่อเนื่อง • โรงงานคือแหล่งรวมเทคโนโลยีใหม่ๆ

  6. ปัญหาและผลกระทบจากโรงงานอุตสาหกรรมปัญหาและผลกระทบจากโรงงานอุตสาหกรรม 1. โรงงานคือแหล่งสร้างมลพิษและ 2. โรงงานคือจุดเริ่มต้นของปัญหาสังคม 3. โรงงานเป็นสิ่งที่สร้างปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม 4. โรงงานเป็นจุดเริ่มต้นของสังคมบริโภคนิยม 5. โรงงานเป็นสิ่งแปลกปลอมให้กับโลก

  7. จุดมุ่งหมายหลักในการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมจุดมุ่งหมายหลักในการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม 1. เพื่อสร้างผลกำไรจากการลงทุน 2. เพื่อสร้างความมั่นคงต่อกิจการ 3. เพื่อโอกาสการขยายกิจการในอนาคต

  8. ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการออกแบบและวางแผนการสร้างโรงงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการออกแบบและวางแผนการสร้างโรงงาน • ข้อมูลด้านแหล่งเงินสำหรับลงทุน ( อาจจะได้มาจาก ) • เงินสะสมส่วนตัว , การระดมทุน • การกู้ยืมจากสถาบันการเงินหรือแหล่งเงินทุน 1.เงินลงทุนคงที่ 2.เงินลงทุนหมุนเวียน 3. เงินทุนสำรอง เพื่อที่จะนำไปใช้

  9. 2. ข้อมูลด้านผลิตภัณฑ์ ( Product ) 3. ข้อมูลด้านการขายและความต้องการของตลาด ( Sales Planning and Marketing ) 4. ข้อมูลด้านกระบวนการผลิต ( Production Process ) 4.1. กระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง ( Continuous ) 4.2. กระบวนการผลิตแบบซ้ำๆ ( Repetitive ) 4.3. กระบวนการผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง ( Intermittent )

  10. 5. ข้อมูลด้านส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ว่าจะสั่งผลิตหรือผลิตเอง( Make or Buy ) 6. ข้อมูลด้านขนาดพื้นที่ของโรงงาน ( Plant Size ) 7. ข้อมูลด้านทำเลที่ตั้งของโรงงาน ( Plant Location ) 8. ข้อมูลด้านการวางผังโรงงาน ( Plant Layout ) 9. ข้อมูลด้านรูปแบบของอาคารโรงงาน ( Building Type )

  11. 10.ข้อมูลด้านการผลิตสินค้าหลายชนิด(Diversification)10.ข้อมูลด้านการผลิตสินค้าหลายชนิด(Diversification) 11. ข้อมูลด้านโครงสร้างของหน่วยงาน ( Organization ) 12. ข้อมูลด้านการศึกษาผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ( Environment and Social ) ทั้ง 3 ระยะ 12.1. ระยะก่อนการสร้างโรงงาน 12.2. ระยะระหว่างสร้างโรงงาน 12.3. ระยะดำเนินงานของโรงงาน

  12. ประโยชน์จากการออกแบบและวางแผนการสร้างโรงงานที่ดีประโยชน์จากการออกแบบและวางแผนการสร้างโรงงานที่ดี • ลดการลงทุนในส่วนที่ไม่จำเป็น • ลดความเสี่ยงทางธุรกิจลง • สามารถตั้งเป้าหมายและกำหนดระยะคืนทุนได้ถูกต้อง • ลดปัญหาและผลกระทบต่างๆที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต • ลดการรับภาระค่าใช้จ่ายในส่วนที่ไม่จำเป็น • สามารถวางแผนด้านความต้องการบุคลากรได้ถูกต้อง

  13. ปัญหาที่จะเกิดขึ้นในขั้นตอนของการออกแบบและวางแผนการสร้างโรงงานปัญหาที่จะเกิดขึ้นในขั้นตอนของการออกแบบและวางแผนการสร้างโรงงาน • ปัญหาด้านเงินลงทุน • ปัญหาด้านการออกแบบและการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ • ปัญหาด้านข้อมูลความต้องการของตลาด • ปัญหาด้านที่ดินที่เลือกเป็นทำเลที่ตั้งโรงงาน • ปัญหาด้านการเลือกกระบวนการผลิตที่เหมาะสม

  14. 6. ปัญหาด้านการกำหนดขนาดและพื้นที่ของโรงงาน 7. ปัญหาด้านการวางผังโรงงาน 8. ปัญหาด้านรูปแบบและการจัดตำแหน่งของอาคารโรงงาน 9. ปัญหาจากสภาพแวดล้อมและชุมชนรอบข้าง 10. ปัญหาจากความล่าช้าในการดำเนินโครงการ

  15. การวางผังโรงงาน - ทำไมต้องวางผัง ? • ประสิทธิภาพการดำเนินงาน • ความปลอดภัย สภาพแวดล้อมของการทำงาน • การเปลี่ยนแปลงรูปแบบสินค้า(บริการ) • การผลิตสินค้า(บริการ)ชนิดใหม่ • ความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณและส่วนผสม ผลิตภัณฑ์ • ความยืดหยุ่นของกระบวนการ เครื่องมือ อุปกรณ์ • กฎหมายและ พรบ.สิ่งแวดล้อม

  16. โรงงานที่มีการวางผังที่ดี จะมีต้นทุนการผลิตต่ำ เพราะ... • ใช้ทรัพยากรเท่าที่จำเป็น • ใช้สอยเนื้อที่เต็มประสิทธิภาพ • ควบคุมการผลิตง่าย ความผิดพลาดน้อย ชิ้นงานบกพร่องน้อย • ปลอดภัยมากขึ้น สุขภาพกายและจิตพนักงานดี • คุณภาพสินค้าดี ลูกค้าเชื่อถือ • การเคลื่อนย้ายวัสดุไม่สับสน มีระยะทางสั้น

  17. การออกแบบผังภายใน • วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์, กระบวนการผลิต • คำนวณหาจำนวนเครื่องจักร อุปกรณ์ • เลือกวิธีและอุปกรณ์การเคลื่อนย้ายวัสดุ • จัดวิถีการเคลื่อนที่จากวัตถุดิบจนเป็นสินค้าสำเร็จรูป • จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ปลอดภัย • วิเคราะห์หาขนาดคลังสินค้า

  18. โรงงานที่มีการวางผังที่ดี จะมีต้นทุนการผลิตต่ำ เพราะ... • ต้องมีความยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนได้ง่าย • ใช้พื้นที่ให้ก่อประโยชน์สูงสุด • มีความโปร่งใส ถูกสุขลักษณะ และมองเห็นได้ทั่วทั้งโรงงาน • ให้มีการเคลื่อนย้ายน้อยที่สุด ถ้ามีการขนย้ายวัสดุอุปกรณ์และเครื่องจักรต้องดำเนินการง่าย • เคลื่อนย้ายอุปกรณ์สนับสนุน พลังงานได้ง่าย • ต้องมีความปลอดภัย • การเคลื่อนย้ายต้องเป็นทิศทางเดียวกัน ระยะทางต้องสั้นที่สุด มีการประสานงานกันระหว่างหน่วยงาน • มีการประเมินประสิทธิภาพในทุกครั้งที่มีผลิตภัณฑ์ใหม่เข้าสู่สายการผลิต

  19. การวิจัยตลาด การพยากรณ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบผังภายใน การออกแบบอาคาร สร้างอาคาร จัดหาเครื่องจักร อุปกรณ์ บุคลากร ติดตั้ง ฝึกอบรม ดำเนินการผลิต กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบโรงงาน

  20. การออกแบบผลิตภัณฑ์ • เพื่อการใช้งาน(functional design) e.g. เน้นความทนทาน ประหยัด ความคล่องตัว • เพื่อให้สะดวกต่อการผลิต (ease to produce) e.g. เน้นต้นทุนและเวลาที่ใช้ผลิต • เพื่อความสวยงาม(aesthetic design) e.g. เน้นความสวยงาม มีคุณค่า เพื่อดึงดูดความสนใจ

  21. รูปแบบการวางผังโรงงานรูปแบบการวางผังโรงงาน การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) การวางผังตามกระบวนการ (Process Layout) การวางผังแบบคงตำแหน่ง (Fixed-Position Layout) การวางผังแบบเซล (Cellular Layout)

  22. หลักสำคัญพื้นฐานของการวางผังหลักสำคัญพื้นฐานของการวางผัง ความสัมพันธ์ เป็นการจัดหาความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่างๆ เนื้อที่ เป็นการพิจารณาเกี่ยวกับเนื้อที่ต่างๆ ของกิจกรรม ทั้งจำนวน ชนิด และรูปร่าง การปรับจัดตำแหน่งที่ตั้ง เป็นการจัดหรือปรับตำแหน่งของกิจกรรมต่างๆ ให้อย่างเหมาะสม

  23. เครื่องจักร/อุปกรณ์ 1 เครื่อง • คน 1 เครื่อง 1 • คน 1 หรือ มากกว่า • กลุ่มคน + กลุ่มเครื่อง การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) สถานีงาน

  24. การวางผังตามผลิตภัณฑ์(Product Layout) ตัวอย่างร้านขายอาหาร

  25. การวางผังตามผลิตภัณฑ์(Product Layout) U-shaped production line

  26. ข้อได้เปรียบของ Product layout • อัตราการผลิตสูงกว่าการวางผังแบบอื่น • ต้นทุนต่อหน่วยของการผลิตต่ำ • ฝึกคนงานได้เร็วและสิ้นเปลืองงบน้อย • ต้นทุนในการเคลื่อนย้าย (Handling cost) ต่ำ • ประสิทธิภาพแรงงานและเครื่องจักรสูง • วิถี(route)และขั้นตอนการผลิตแน่นอน • Setup time ต่อหน่วยต่ำ • ระบบบัญชี จัดซื้อ พัสดุคงคลังไม่ค่อยซับซ้อน

  27. ข้อเสียเปรียบของ Product layout • คนงานเบื่อ ขาดความภูมิใจ ลาออก ขาดงาน • การลงทุนเริ่มต้น (Capital cost) สูง • ไม่ยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิต รูปแบบสินค้า กระบวนการ • ไวต่อการหยุดผลิต มีผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตมาก

  28. Process Layout (Job shop) เหมาะสมกับกิจการที่.. ผลิตสินค้ามากแบบ แบบสินค้ามีหลากหลาย แต่ละรุ่นของการผลิตจะผลิตไม่มาก พนักงานควรเป็นช่างฝีมือ มีพนักงานที่เชี่ยวชาญการวางแผนและควบคุมการผลิต

  29. ตัวอย่างกิจการที่วางผังแบบ process layout • อู่ซ่อมรถยนต์ • ซูเปอร์มาร์เก็ต, ห้างสรรพสินค้า • โรงพยาบาล • มหาวิทยาลัย • โรงกลึง • โรงงานผลิตเครื่องปรับอากาศ • ฯลฯ

  30. การวางผังตามกระบวนการ(Process Layout)

  31. ข้อได้เปรียบของ Process Layout • สามารถผลิตด้วยกระบวนการที่แตกต่างกัน • เมื่อเครื่องจักรเสียบางเครื่องจะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบ • เครื่องมือ อุปกรณ์มักใช้ร่วมกันได้ • พนักงานมีความพึงพอใจในงาน ( การขาดงาน ลาออก มีน้อย)

  32. ข้อดีของการจัดสายการผลิตแบบ process layout • 1. มีความยืดหยุ่นสามารถใช้เครื่องจักรได้หลากหลายผลิตภัณฑ์ • 2. เปลี่ยนผลิตภัณฑ์ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนผังโรงงานมากนัก • 3. เครื่องจักรสามารถทดแทนกันได้ • 4. การเพิ่มกำลังผลิตและการควบคุมสิ่งบกพร่องสามารถควบคุมได้เฉพาะหน่วยผลิต • 5. การเพิ่มลดเครื่องจักร อุปกรณ์ทำได้สะดวกและต้นทุนไม่สูงมากนัก

  33. ข้อเสียเปรียบของ Process Layout • หน่วยผลิตต่างๆ อาจมีอัตราการผลิตไม่เท่ากัน • ทำให้เกิด work-in-process และรอการผลิต • หัวหน้างานควบคุมงานยากกว่า เพราะวิถีการผลิตไม่แน่นอน • ต้องควบคุมการผลิตสินค้าให้ลูกค้าแต่ละรายหรือแต่ละรุ่น • ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยสูงเพราะแต่ละรุ่นผลิตไม่มาก ทำให้ setup time ต่อหน่วยสูง • อาจขาดแคลนช่างฝีมือ ต้องการสวัสดิการมาก • ระบบบัญชี จัดซื้อ พัสดุคงคลังมักยุ่งยากกว่า

  34. ข้อเสียเปรียบของการจัดสายการผลิตแบบ process layout • 1. จัดสมดุลการผลิตได้ยาก • 2. มีงานรอระหว่างกระบวนการผลิตมาก (WIP) • 3. มีการใช้พื้นที่ในการวางผังมากเนื่องจากแต่ละแผนกต้องมีการเตรียมจัดเก็บวัตถุดิบ และเส้นทางเดินและการขนถ่าย • 4. ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยจะสูงเนื่องจากจะเป็นการผลิตแบบสั่งทำเป็นส่วนมาก เป็นลักษณะงานทำเฉพาะตามแบบปริมาณที่น้อย • 5. เวลาในการผลิตไม่เต็มที่เนื่องจากมีการสูญเสียในการเตรียมงานเตรียมเครื่องจักรเพื่อการผลิตบ่อยตามแต่ผลิตภัณฑ์ • 6. การวางแผนและควบคุมการผลิตจะทำได้ยากเนื่องจากมีความหลากหลายทั้งผลิตภัณฑ์ เครื่องจักร วัตถุดิบ และการส่งมอบ

  35. ตัวอย่างการวางผังแบบ process layout ในโรงงานแห่งหนึ่ง เครื่องเจียระไน เครื่องกัด เครื่องเจาะ เครื่องกลึง ออก เข้า

  36. การวางผังแบบคงตำแหน่ง (Fixed-Position Layout) เครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ บริเวณที่ผลิตสินค้า หรือบริการ วัสดุ ส่วนประกอบ, ชิ้นส่วน แรงงาน อื่น ๆ

  37. การวางผังการผลิตแบบนี้ ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจะมีขนาดที่ค่อนข้างใหญ่ ไม่สะดวกในการเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ เช่น เครื่องบิน เรือเดินสมุทร การก่อสร้างเขื่อน การก่อสร้างอาคาร ภายหลังการผลิตแล้วเสร็จ ผลิตภัณฑ์ส่วนมากมักจะอยู่กับที่ หรือถ้ามีการเคลื่อนย้ายจะค่อนข้างลำบาก • การวางผังลักษณะนี้จะทำการวางผังโดยการให้ชิ้นงานที่จะผลิตอยู่กับที่หรือผลิตส่วนงานชิ้นย่อย ๆ เป็นลักษณะชิ้นส่วนสำคัญจากภายนอกนำเข้ามาประกอบ โดยเคลื่อน แรงงาน วัตถุดิบ อุปกรณ์ เครื่องจักร พลังงาน และกรรมวิธีเข้าไปหา ตัวอย่างเช่น ในอดีตการก่อสร้างสะพานลอยคนเดินข้าม หรือสะพานลอยของรถ จะมีการนำเอาปัจจัยการผลิตต่าง ๆ วัตถุดิบ เครื่องผสมปูนซีเมนต์ เหล็กเส้น แรงงาน ปูนซีเมนต์ ไม้แบบ รถขุดเจาะ เสาเข็ม เข้าไปในพื้นที่ที่จะสร้าง เพื่อผ่านกระบวนการสร้างเป็นให้เป็นสะพานลอยอย่างสมบูรณ์โดยใช้เวลาในการดำเนินการนานนับเดือน ขณะที่ปัจจุบันจะเป็นลักษณะที่ใช้เทคโนโลยีที่ผลิตคานหรือเสาเข็มมาก่อน เสร็จแล้วนำมาประกอบโดยใช้เวลาที่ลดลงกว่าเดิมมาก โดยการจราจรจะมีการติดขัดน้อยลงแต่ได้ผลิตภัณฑ์เหมือนเดิมและมีความรวดเร็วในการผลิตการสร้างมากกว่า

  38. การวางผังโรงงานแบบงานอยู่กับที่การวางผังโรงงานแบบงานอยู่กับที่

  39. ตัวอย่างกิจการหรือสถานที่ที่วางผังแบบตัวอย่างกิจการหรือสถานที่ที่วางผังแบบ fixed-position layout • โรงงานผลิตสิ่งของขนาดใหญ่ (เครื่องบิน, เรือ,กระสวยอวกาศ รถไฟ ฯลฯ) • การก่อสร้างอาคาร บ้านเรือน • เวทีจัดการแสดง การเรียนการสอนในห้องเรียน

  40. การวางผังแบบเซล (Cellular Layout) เจาะ เจียระไน กัด กลึง เข้า ออก

  41. Cellular layout • มีการนำหลักการที่ชิ้นงานลักษณะการผลิตที่ใกล้เคียงกัน มาอยู่ในสายการผลิตเดียวกันโดยยกเว้นขั้นตอนหรือเครื่องจักรบางเครื่องที่ข้ามไป และในบางครั้งอาจมีการข้ามสายการผลิตได้แต่เล็กน้อย ส่งผลให้ลดเวลาในการเตรียมเครื่องจักร ลดพื้นที่การผลิต ลดการขนถ่ายลำเลียงได้มาก ปัจจุบันในหลายโรงงานจะนิยมใช้การวางผังการผลิตแบบผสม

  42. ข้อได้เปรียบของ cellular เมื่อเทียบกับ process • งานระหว่างทำน้อยกว่า • วิถีการผลิตสั้นกว่า และไม่สับสน • การเตรียมการผลิตเกิดขึ้นน้อยกว่า ใช้เวลาน้อยกว่า

  43. การวิเคราะห์วิธีการทำงาน(Methods Analysis) • วิเคราะห์รายละเอียดในแต่ละขั้นตอนของแต่ละงาน • แยกขั้นตอนที่เพิ่มมูลค่ากับไม่เพิ่มมูลค่า • แก้ไขทบทวนขั้นตอนไปสู่การเพิ่มผลผลิต • แก้ไขเอกสารขั้นตอนการปฏิบัติการที่เป็นมาตรฐาน

  44. การศึกษางาน(Study the Job)

  45. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์งานด้วยผังการไหลสัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์งานด้วยผังการไหล

  46. การเก็บรวบรวมข้อมูล แผนผังลำดับขั้นงาน– โดยมากมีสัญลักษณ์พื้นฐาน 5 แบบดั้งนี้ O การทำงาน • การขนส่ง คงคลังวัสดุ D คงคลังวัสดุชั่วคราว □ตรวจสอบ

  47. การวิเคราะห์งานด้วยผังการไหลการวิเคราะห์งานด้วยผังการไหล

More Related