1 / 68

แผนพัฒนาสุขภาพ จังหวัด กำแพงเพชร Health Education & Environmental Health

แผนพัฒนาสุขภาพ จังหวัด กำแพงเพชร Health Education & Environmental Health. “ Good Health Starts Here : สุขภาพดี เริ่มต้นจากที่นี่ ”. แผนสุขภาพจังหวัด ปี 2556-60. แผนพัฒนาสุขภาพ. วิธีดำเนินการ. ปัญหาสุขภาพ. IP+OP+PP. โรคระบบไหลเวียนเลือด โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง อุบัติเหตุ

denton-moss
Download Presentation

แผนพัฒนาสุขภาพ จังหวัด กำแพงเพชร Health Education & Environmental Health

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนพัฒนาสุขภาพ จังหวัดกำแพงเพชร Health Education & Environmental Health “Good Health Starts Here: สุขภาพดี เริ่มต้นจากที่นี่”

  2. แผนสุขภาพจังหวัด ปี 2556-60 แผนพัฒนาสุขภาพ วิธีดำเนินการ ปัญหาสุขภาพ IP+OP+PP • โรคระบบไหลเวียนเลือด • โรคมะเร็ง • โรคความดันโลหิตสูง • อุบัติเหตุ • โรคหลอดเลือดและสมอง • โรคปอดอักเสบ • 7โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต • 8. โรคไตเรื้อรัง • 9. โรคเบาหวาน • 10. ฆ่าตัวตาย • 11. โรคปอดเรื้อรัง • 12. โรคเอดส์ • 13. แม่ตาย และลูกตาย • 14. ฟันผุในเด็กเล็ก 62% • 15. โรคอุบัติใหม่-อุบัติซ้ำ หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง เบาหวาน,ความดัน โรคปอดเรื้อรัง ตา ไต อุบัติเหตุ จิตเวช ทารกแรกเกิด ทันตกรรม 5 สาขา ปฐมภูมิ+ทุติยภูมิ+ตติยภูมิ+องค์รวม ใช้ทรัพยากรร่วมกัน การเงิน,กำลังคน การลงทุน ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง แนวทางเชิงรุก/รับ พัฒนาบุคลากร พัฒนาระบบข้อมูล พัฒนาการจัดการ พัฒนาระบบส่งต่อ

  3. 1O Care อำเภอ,ตำบล,หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ศูนย์เด็กเล็ก,โรงเรียน,ตลาด To be number 1 ระดับเงิน ประชากร 720,000 ชุมชน พฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม 2O Care การคัดกรอง DM,HT 76% Depress 50.37% CA cx 65% , CA breast 90% Pre-DM, Pre-HT, ANC, WCC Stroke Fast tract STEMI fast tract 50% Trauma fast tract 55%,68% + กลุ่มดี กลุ่มเสี่ยง600,000 กลุ่มอายุ ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม พหุภาคี 3O Care คลินิกโรคเรื้อรัง Modi-CKD Clinic,คลินิกจิตเวช ชุมชน/บ้านเป็นที่ดูแลผู้ป่วย อบรม Caregiver , Re-Admit Re-Visit,Unit Cost, HbA1c 60% + กลุ่มป่วย120,000 กลุ่มป่วยเรื้อรัง

  4. Health SocialSetting : 17 ประเภท 274 กลุ่ม

  5. ตัวชี้วัดและมาตรการ DHS 2557 เป้าหมาย/ตัวชี้วัด 1.ร้อยละของอาเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 50) มาตรการ 1.พัฒนารูปแบบ ส่งเสริมเครือข่าย ระบบบริการสาธารณสุขระดับอาเภอ 2. ขยายรูปแบบระบบบริการสาธารณสุขระดับอาเภอ

  6. “แนวคิด” ชี้ทิศ ชี้เป้า เชื่อมเป้า เชื่อมงาน บูรณาการสู่พื้นที่ • ดำเนินการทุกอำเภอ • 100 %

  7. ผลการประเมินการพัฒนาตามเกณฑ์บันได 5 ขั้นDistrictHealth System (DHS) กำแพงเพชร • ขั้นที่ 2 จำนวน 6 อำเภอ : คลองขลุง/ทรายทอง/ลานกระบือ / ปางศิลาทอง บึงสามัคคี และโกสัมพีนคร • ขั้นที่ 3 จำนวน 5 อำเภอ : คลองลาน/พรานกระต่าย/ไทรงาม/ ขาณุวรลักษบุรีและอำเภอเมือง • สรุป ทุกอำเภอผ่านขั้นที่ 2 ต้องพัฒนาต่อเนื่องสู่ขั้นที่ 3 และ ยกระดับการพัฒนาต่อไป

  8. แนวทางการพัฒนา District Health System (DHS) DHS

  9. ทุกอำเภอผ่าน ขั้น 2 -> สู่ ขั้น 3 • PMQA PCA HAพบส. • ODOP 3.9 ล้าน 24 โครงการ • 1.Long term care, 2.Modified –CKD Clinic • 3.Teenage Preg. 4.CA Liver : Liver fluke , • 5. ศพด.ปลอดโรค 6. ไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ • ปรับพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค DM&HT • 4.8 ล้าน (4,865 คน) สถานการณ์การพัฒนา DHS DHS คปสอ. • Service Plan • Quality • 1. ลดความแออัด • 2. เพิ่มการเข้าถึงบริการ • โดยพัฒนาศสม. • 3. พัฒนาระบบรับ-ส่งต่อ • ผู้ป่วย /ข้อมูล 5 Node ทุติยภูมิ รพ.แม่ข่าย • ผ่านการรับรอง HA 6 แห่ง 50%(รพ.ทรายทองฯ) • ขอรับการประเมิน รพ.คลองลาน (พย.56) • แผนพัฒนาขีดความสามารถรพช.หัตถการเบื้องต้น Re-opening OR • Referral system: 5 เรื่อง Labour,UGIH, • Apendicitiis, Anemia ,Colles' fracture • LABผ่านการประเมิน LA 6 แห่ง • ขอรับการประเมินมาตรฐาน 4 แห่ง ปฐมภูมิ 25:46 132 PCA ขั้น 2 สู่ขั้น 3 = คลองลาน PCA ขั้น 2 = 8 แห่ง, ขั้น 1 = 2 แห่ง

  10. สรุปเบิกจ่ายงบประมาณโครงการ ODOP รายอำเภอ 24 โครงการ 3.9 ล้านบาท ภาพรวมเบิกจ่าย 53.90% อ.คลองลาน / โกสัมพี 100%

  11. แนวทางการพัฒนา District Health System (DHS) บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม DHS 3 ผลผลิตที่คาดหวัง : ผลผลิตพัฒนาบริการ ผลผลิตพัฒนาคน ผลผลิตพัฒนาระบบ

  12. ประชาชนได้รับการปกป้องจากโรคและภัยสุขภาพประชาชนได้รับการปกป้องจากโรคและภัยสุขภาพ Crisis Management

  13. รพ.สต. ชุมชน: ผู้นำชุมชน อาสาสมัคร องค์กรชุมชน/กลุ่มกิจกรรมในชุมชน

  14. แนวทางการดำเนินงาน ปี 2556 • องค์กร/คณะกรรมการ คปสจ./คปสอ./CUP Management • กำหนดทิศทางการพัฒนา/แก้ไขปัญหา Service plan / MIS • กำหนดพื้นที่เป้าหมายพัฒนา ครอบคลุมทุกอำเภอ • กำหนดประเด็นพัฒนา/แก้ไขปัญหา(ODOP) ครอบคลุมทุกอำเภอ (Long term care & Modified CKD Clinic) • สนับสนุนงบประมาณ 3.8 + 4.8 ล้านบาท ให้อำเภอจัดทำโครงการ (ODOP) • พื้นที่เป้าหมายประเมินตนเอง และกำหนดประเด็นพัฒนาส่วนขาด • ใช้การขับเคลื่อนด้วยกระบวนการคุณภาพ HA/PCA และCBL • ติดตามเยี่ยมและประเมินความก้าวหน้าทุก 3 เดือน • นำเสนอความก้าวหน้าและผลการดำเนินงานในการประชุม คปสจ.ทุกเดือน • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรมสุขภาพ Good practice

  15. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ตัวชี้วัดร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATTSRRTคุณภาพ (เท่ากับ 80) SRRT • การรับรองผลการประเมิน • ทีม SRRT อำเภอไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 3 ทีม • อำเภอคลองลาน, อำเภอปางศิลาทอง, อำเภอโกสัมพีนคร

  16. พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน • • พัฒนาโรงพยาบาลตามมาตรฐาน • -โรงพยาบาลผ่านมาตรฐาน HA (ร้อยละ 100) เป้าหมาย 6 แห่ง (คลองลาน ไทรงาม บึงสามัคคี ลานกระบือ ปางศิลาทอง โกสัมพีนคร) • -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ • - องค์กรต้นแบบไร้พุง/ ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง • - ห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์ฯมีคุณภาพและมาตรฐานการบริการ • (ร้อยละ 100) (คลองลาน ลานกระบือ ปางศิลาทอง ทรายทองวัฒนา • ทุ่งโพธิ์ทะเล โกสัมพีนคร) • - ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย มีคุณภาพและมาตรฐานการบริการ (ร้อยละ 100) (กำแพงเพชร ขาณุวรลักษบุรี คลองลาน ปางศิลาทอง ทรายทองวัฒนา ทุ่งโพธิ์ทะเล โกสัมพีนคร)

  17. พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน • พัฒนาคุณภาพรพ.สต.: PCA - พัฒนาคุณภาพรพ.สต.(PCA) เป้าหมายรพสต. 121 แห่ง * ระดับความสำเร็จของ รพ.สต.ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน PCA ผ่านขั้น 3 - หน่วยปฏิบัติการด้านการแพทย์ฯมีคุณภาพและมาตรฐานการบริการ (ร้อยละ 100) * ศสม. 2 แห่ง และ รพสต.เดี่ยว 25 แห่ง รพ.สตแม่ข่าย 46 แห่ง • พัฒนาคุณภาพ สสอ.: PMQA - ประเมินตนเองและพัฒนาตามแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐ : PMQA เป้าหมาย สสอ. 11 แห่ง - ระดับความสำเร็จในการประเมินตนเองและพัฒนาตามแนวทางการบริหาร จัดการภาครัฐ

  18. สถานการณ์การพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานเกณฑ์คุณภาพของสถานบริการระดับทุติยภูมิ/ตติยภูมิสถานการณ์การพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานเกณฑ์คุณภาพของสถานบริการระดับทุติยภูมิ/ตติยภูมิ

  19. การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ ตอนที่ I ตอนที่ IV การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล ด้านการดูแลผู้ป่วย ด้านการมุ่งเน้นผู้รับผลงาน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ ด้านการนำ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ความเชื่อมโยง Discharge plan ลด Re-admit การให้ข้อมูลและเสริมพลัง เพื่อการดูแลต่อเนื่อง จาก...ไร้ระเบียบ เริ่มมีระบบ มีบูรณาการ มีนวัตกรรม/ต้นแบบ การนำ ผลการ ดำเนินงาน การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ ระบบงานสำคัญของ รพ. ตอนที่ II PMQA ตอนที่ III ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การทำงานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย กระบวนการดูแลผู้ป่วย การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  20. คุณภาพบริการผู้ป่วยใน : เพิ่มศักยภาพระบบบริการพัฒนาตามService plan 10สาขา ค่าCMIผู้ป่วยในทุกสิทธิ์ ปี2555-2556 ภาพรวมค่า CMI เพิ่มขึ้นจาก ปี 55ได้ตามค่าเป้าหมาย ค่าCMI (F1-F3) = 0.72 ที่มา เทคโนโลยีสารสนเทศ 22ตค56

  21. การรักษาของรพ.จำแนกตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับแล้ว(AdjRW) ปี 2556 <0.5 ≤ 2 > 2 เป้าหมาย รพท. ร้อยละ 30 ที่มา : เทคโนโลยีสารสนเทศปี55 วนที่ 7มิย., ปี56 วันที่ 22ตค56

  22. การรักษาของรพ.จำแนกตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับแล้ว(AdjRW) จำแนกตามที่รพช.ส่งต่อปี 2556 <0.5 ≤ 2 > 2 ที่มา:เทคโนโลยีสารสนเทศ พย.56

  23. การเปลี่ยนแปลงค่า Adj.RW ปี 2556 เขต 3 ตรวจสอบเวชระเบียน 4,000 ฉบับ

  24. เปรียบเทียบค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับตามวันนอน (Adjrw) เปลี่ยนแปลง หลังการตรวจสอบเวชระเบียนปี2554-2556 รายโรงพยาบาล

  25. ร้อยละคะแนนคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยใน รายหน่วยบริการ (External : Internal) ปี2556

  26. ตัวชี้วัดด้านคุณภาพการบริการตัวชี้วัดด้านคุณภาพการบริการ ดัชนีผู้ป่วยใน (CMI) ของแต่ละระดับสถานบริการสุขภาพตาม Service Plan ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด คำนิยาม CMI (Case Mix Index) หมายถึง ค่าเฉลี่ยน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าแล้ว (Adjusted Relative Weights : AdjRw) ของผู้ป่วยในทั้งหมดที่จำหน่ายในช่วงเวลาที่กำหนด เกณฑ์เป้าหมาย รพท. (S) มีค่า CMI ไม่น้อยกว่า 1.2 รพช.แม่ข่าย (M2) มีค่า CMI ไม่น้อยกว่า 0.8 รพช.(F1-F3) มีค่า CMI ไม่น้อยกว่า 0.6 กรณีโรงพยาบาลระดับ Sที่ผ่านเกณฑ์ควรมีสัดส่วนผู้ป่วยในที่มีค่าAdjRw <0.5 รพท.(S) =ไม่มากกว่า 30% คำนิยาม การประเมินผล 1. มีแผนพัฒนาศักยภาพการบริหารด้านรักษาพยาบาล 2. มีการดำเนินงานตามแผนพัฒนาศักยภาพการบริหารด้านรักษาพยาบาล 3.มีการพัฒนาศักยภาพการบริหารด้านรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นโดยวัดจากค่า CMI ภาพรวมของสถานบริการเพิ่มขึ้น 10% 4.มีการประเมินและสรุปผลปัญหาและอุปสรรคการดำเนินงานตามแผน

  27. แผนพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลแผนพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาล

  28. ร้อยละ 45ของ รพ.สต./ศสม. จัดบริการสุขภาพช่องปากปี 2556 NEW มีทันตบุคลากรประจำหรือหมุนเวียนอย่างน้อยWKละ 1 วัน

  29. ร้อยละ รพ.สต./ศสม.ที่มียูนิตทันตกรรม รายหน่วยบริการ ปี 2556 ร้อยละ 45

  30. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน • ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน ผ่านเกณฑ์ ระดับดีมาก 12 ตำบล (54.54%) ระดับดี 10 ตำบล (45.45%) ส่วนขาด/โอกาสพัฒนาวิสาหกิจชุมชนก้าวหน้า / ประเมิน อสม.เชี่ยวชาญ (นักจัดการสุขภาพชุมชน) • ตำบลจัดการสุขภาพ 49 ตำบล (62.82%) • พัฒนาต่อเนื่องเป็นศูนย์เรียนรู้ 14 ตำบล • หมู่บ้านจัดการสุขภาพ 599 หมู่บ้าน (60.51%) • หมู่บ้าน CBI 346 หมู่บ้าน (36.19%)

  31. ตำบลจัดการสุขภาพ ตำบล นมแม่ ลดโลกร้อน ตำบล ตำบลฟันดี Long Term Care

  32. สุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนมีการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมาย : ร้อยละ 70 ของตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน ผ่านเกณฑ์ระดับดี -เป้าหมาย ทุกอำเภอ ๆ ละ 2 ตำบล - เกณฑ์การประเมิน แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ : ระดับพื้นฐาน (พัฒนาทีมสุขภาพตำบล) : ระดับพัฒนา (พัฒนากระบวนการจัดทำแผน สุขภาพตำบล) : ระดับดี (มีการขับเคลื่อนแผนสุขภาพ - หมู่บ้านผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของตำบลจัดการ - อสม. นักจัดการสุขภาพ ใน ตำบลจัดการฯ ที่รับการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อยร้อยละ 20 - มีการรวมตัวของกลุ่มบุคคล ตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป ดำเนินการ วิสาหกิจชุมชน คือมีกิจกรรม ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ) : ระดับดีมาก (มีการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง) : ระดับดีเยี่ยม (เป็นตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ) ตำบลจัดการสุขภาพดี นำไปสู่การแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านสุขภาพ โรคไร้เชื้อเรื้อรัง/โรคติดต่อทั่วไป / การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีการรวมกลุ่ม เพื่อสร้างรายได้ และลดรายจ่าย แผนสุขภาพตำบล • * มีกระบวนพัฒนาบทบาทภาคประชาชน และภาคีเครือข่ายต่างๆ • การพัฒนาศักยภาพ อสม. • การพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน • มีนวัตกรรมสุขภาพชุมชน รพ.สต. ภาคประชาชน(อสม. บวร.) อปท. • ร่วมวิเคราะห์ปัญหา จัดทำแผนโครงการ • ระดมทุนจากกองทุนในพื้นที่ เช่นกองทุนหมู่บ้าน กองทุนพัฒนาสตรี กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ฯลฯ • มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในชุมชน • ร่วมกำหนดนโยบายท้องถิ่น • สะท้อนข้อมูล • ร่วมในกระบวนการทำแผน • ร่วมปฏิบัติ/ดำเนินการ

  33. รูปแบบการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชน ความเชื่อมโยงกับการพัฒนาสุขภาพที่เป็นยุทธศาสตร์จังหวัด รูปแบบการขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพ รูปแบบการขับเคลื่อน สร้างทีมนักจัดการสุขภาพระดับตำบล/หมู่บ้าน และจัดทำแผนสุขภาพตำบล ด้วยกระบวนการ SRM และค่ากลาง ถ่ายระดับ SLMช่องสู่พื้นที่ ภายใต้ยุทธศาสตร์สุขภาพของจังหวัด วิธีและกระบวนการพัฒนา ใช้แนวทางการพัฒนาหมู่บ้าน/ ตำบลจัดการสุขภาพตามคู่มือฯ และแบบประเมิน มบ.จัดการ/ ตำบลจัดการสุขภาพภายใต้การอำนวยการสนับสนุน ของคณะ กก. รพ.สต. / กองทุนสุขภาพตำบล/ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน รพ.สต. อสม. กองทุนตำบลฯ

  34. ภาพรวม ร้อยละ 60.51 • 5 อำเภอยังไม่ผ่านเกณฑ์ : ปี 2556 • เมือง ไทรงาม คลองลาน คลองขลุง บึงสามัคคี • อำเภอปางศิลาทอง ไม่มีข้อมูล หมู่บ้านจัดการสุขภาพดี ร้อยละ 70 บันทึกข้อมูลOnline : www.thaiphc.net ร้อยละ 70

  35. ครอบคลุมทุกหน่วยบริการ 5 ปี 2552 - 2556= 494หมู่บ้าน ต้นแบบ 50 แห่ง หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ 60

  36. การดำเนินงานความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ปัญหาสาธารณสุข 15 โรค สาเหตุการเสียชีวิตของคนกำแพงเพชร กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ KPI/ผลลัพธ์ โรค/ปัญหาสาธารณสุข โครงการ Air War Ground War ดำเนินการประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านสุขภาพเชิงรุกในพื้นที่ (Ground War) ๑.จัดมหกรรม/ออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ ๒. สถานีวิทยุชุมชน ๔๐ แห่ง ๓. หอกระจายข่าวสารประจำหมู่บ้าน/เสียงตามสาย/เสียงไร้สาย ๔. ป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์ตามปัญหาสาธารณสุข ๕. สื่อบุคคล (เจ้าหน้าที่สาธารณสุข กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อสม. ) ๑.ประชาชนรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ๒.ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ๓. มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ๔.สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับหน่วยงาน โครงการรณรงค์สร้างกระแสมหกรรมสุขภาพดี “ปรับพฤติกรรมเปลี่ยนสุขภาพคนกำแพงเพชร” Social marketing ดำเนินการประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านสุขภาพในแนวกว้าง(AirWar) ๑.รณรงค์สร้างกระแสจัดมหกรรมสุขภาพดี “ปรับพฤติกรรมเปลี่ยนสุขภาพคนกำแพงเพชร” ๒. โทรทัศน์ท้องถิ่นจำนวน๒แห่ง - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ อักษรวิ่ง สัมภาษณ์ สปอตสารคดีสั้น Banner ๓. สถานีวิทยุกระจายเสียง - โทรศัพท์เข้ารายการ, Spotวิทยุ ๔. โลกไซเบอร์เผยแพร่ผ่าน Website กระทรวง/สสจ. ๕. หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น/ส่วนกลาง ๖.จดหมายข่าวสาธารณสุข ๗. ป้ายประชาสัมพันธ์ ๘. จัดประชุม/แถลงข่าว • โรค/ปัญหาสาธารณสุข ๑.โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๖ โรค • .ปอดอักเสบ • .ติดเชื้อในกระแสโลหิต • .อุบัติเหตุ • .Suicide • .COPD • .เอดส์ • .แม่ตาย ลูกตาย • .ฟัน ๑๐.โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ(D.H.F./HandFootmouth/Diarrhea) • ประชาชนทุกกลุ่มวัย • กลุ่มวัย : วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน วัยสูงอายุ ๑.ประชาชนสุขภาพดีไม่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้๒.E๐ ๘๐ ปี Hale ๗๒ ปี

  37. SP Social Marketing

  38. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) อสม.เชี่ยวชาญ 11 สาขา & Service plan 10 สาขา

  39. อสม.เชี่ยวชาญ ร้อยละ 70 ผลงานปี 55 - 56 ร้อยละ 54.30

  40. หน่วยงานราชการ/ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน สถานประกอบการ สถานบริการสาธารณสุข องค์กร 85 แห่ง KPI: องค์กรไร้พุงต้นแบบ/ ศูนย์การเรียนรู้องค์กรไร้พุงต้นแบบ เพิ่มขึ้นอำเภอละ ๒ แห่ง

  41. ผลงานเด่น รางวัลสุดยอดจังหวัดขับเคลื่อน ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง

  42. ชมรมสร้างสุขภาพ / ชมรมออกกำลังกาย ๑,๒๕๑ ชมรม มีชมรมสร้างสุขภาพ/ชมรมออกกำลังกาย ขยายผล ๑๓๒ ชมรม

  43. สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการดำเนินงานสุขภาพสิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการดำเนินงานสุขภาพ 43

  44. ตลาดประเภทที่ ๑ ได้มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ สถานการณ์ตลาดประเภทที่ ๑ ตั้งอยู่ใน 8 อำเภอ : เทศบาล 6 /เอกชน 12

  45. ตลาดประเภทที่ ๒ (ตลาดนัด)ได้มาตรฐาน ตลาดนัดน่าซื้อ • ตลาดนัด ๑๑๗ แห่ง • อยู่ในเขตเทศบาล ๔๐ แห่ง (ร้อยละ ๓๔.๑๙) • อยู่ในเขต อบต. ๗๗ แห่ง (ร้อยละ ๖๕.๘๑) • มีใบอนุญาต ๒๒ แห่ง (ร้อยละ ๑๘.๘๐) • ไม่มีใบอนุญาต ๙๕ แห่ง (ร้อยละ ๘๑.๒๐)

  46. สถานการณ์สถานที่จำหน่ายอาหารสถานการณ์สถานที่จำหน่ายอาหาร • สถานที่จำหน่ายอาหาร ๑,๐๘๕ แห่ง • ได้มาตรฐาน CFGT ๙๒๘ แห่ง ร้อยละ ๘๕.๕๓ • ร้านอาหาร ๓๓๗ ร้าน • ได้มาตรฐาน CFGT ๒๘๑ ร้าน ร้อยละ ๘๓.๓๘ • แผงลอยจำหน่ายอาหาร ๗๔๘ แผง • ได้มาตรฐาน CFGT ๖๔๗ แผง ร้อยละ ๘๖.๕๐

  47. ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ได้มาตรฐานผ่านเกณฑ์ CFGT

  48. สถานที่จำหน่ายอาหารได้มาตรฐานcfgt รายอำเภอ ภาพรวม 85.53%

  49. สถานการณ์โรงครัวในโรงพยาบาลสถานการณ์โรงครัวในโรงพยาบาล โรงครัวไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร (๓ แห่ง :รพ.กำแพงเพชร, ลานกระบือ และคลองลาน) ไม่มีโรงครัว ๒ แห่ง (ร้อยละ ๑๘.๑๘) (รพ.ปางศิลาทองและ รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล)

  50. สถานการณ์โรงอาหารในโรงเรียนสถานการณ์โรงอาหารในโรงเรียน โรงเรียนสังกัด สพฐ. ๔๕๘ แห่ง มีโรงอาหาร ๒๙๕ แห่ง (ร้อยละ ๖๔.๔๑) ไม่มีโรงอาหาร ๑๖๓ แห่ง ร้อยละ ๓๕.๕๙

More Related