1 / 18

ที่ประชุมกรรมการประสานแผน วันที่ 1 พ.ย.2553

ผลการประเมินตามระบบประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีการศึกษา 2552. ที่ประชุมกรรมการประสานแผน วันที่ 1 พ.ย.2553. มุมมองการวิเคราะห์ตัวบ่งชี้และที่มาของตัวบ่งชี้. วิธีการเลือกตัวบ่งชี้. ที่มาตัวบ่งชี้และข้อมูล. สมศ สกอ. รายงานประเมินคุณภาพปี 52.

Download Presentation

ที่ประชุมกรรมการประสานแผน วันที่ 1 พ.ย.2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการประเมินตามระบบประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีการศึกษา 2552 ที่ประชุมกรรมการประสานแผน วันที่ 1 พ.ย.2553

  2. มุมมองการวิเคราะห์ตัวบ่งชี้และที่มาของตัวบ่งชี้ วิธีการเลือกตัวบ่งชี้ ที่มาตัวบ่งชี้และข้อมูล • สมศ • สกอ. • รายงานประเมินคุณภาพปี 52 • ผลการประเมินระดับ ม.ปี 2552 เทียบเกณฑ์ได้ 1 คะแนน • เป็นตัวบ่งชี้ สกอ. / สมศ. ปี 2553 องค์ประกอบคุณภาพ • องค์ประกอบ สกอ. (9) • องค์ประกอบมหาวิทยาลัย (2)

  3. สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในระดับสถาบันสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในระดับสถาบัน ม.อ. ปี 2552

  4. ผลการดำเนินงานระดับสถาบัน ปีการศึกษา 2552

  5. ผลการดำเนินงานระดับสถาบัน เปรียบเทียบระหว่างปี 2550-2552

  6. ผลการดำเนินงานจำแนกตามองค์ประกอบ (สกอ. 41 ตัวบ่งชี้)

  7. ผลการดำเนินงานจำแนก ตามองค์ประกอบ เปรียบเทียบปี 2550-2552 (สกอ. 41 ตัวบ่งชี้)

  8. จำนวนตัวบ่งชี้จำแนกตามผลการดำเนินงาน เทียบเกณฑ์ เทียบแผนและพัฒนาการ

  9. สรุปตัวบ่งชี้ที่เลือกวิเคราะห์ในครั้งนี้สรุปตัวบ่งชี้ที่เลือกวิเคราะห์ในครั้งนี้ ตัวบ่งชี้ 2.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ ตัวบ่งชี้ 2.5 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ ตัวบ่งชี้ 2.6 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ตัวบ่งชี้ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายในและ ภายนอกสถาบันต่อ จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย

  10. ตัวชี้วัดที่ ม.อ. มีผลการประเมินตามเกณฑ์ ได้ระดับ 1 คะแนน 2.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ อิงเกณฑ์ สกอ.ที่กำหนดเป็นกลุ่มสาขาวิชา กลุ่มวิทย์สุภาพ และศิลปกรรม อัตราส่วน 1 :8 คณะที่สูงกว่าเกณฑ์แพทย์แผนไทย(14.27) ศิลปกรรม (11.49) คณะที่ต่ำกว่าเกณฑ์เทคนิค(3.35)แพทย์(3.5) ทันตะ(4.1) คณะที่ใกล้เคียงกับเกณฑ์พย(8.35) เภสัช(8.81) กลุ่มวิทย์เทคโนฯ, เกษตรฯ อัตราส่วน 1 : 20 คณะที่สูงกว่าเกณฑ์ทส(24.75) วท(23.01) คณะที่ต่ำกว่าเกณฑ์อก(11.23) ทธ(12.61)สวล(14.17) วทท(15.76) วท.อ.(17.63) คณะที่ใกล้เคียงกับเกณฑ์วศ(20.49) กลุ่มสังคมฯ ศึกษา บริหาร อื่นๆอัตราส่วน 1: 25 คณะที่สูงกว่าเกณฑ์พาณิชย์(50.96) ศิลปะ&วจก(47.04) วจก(41.74) นิติ(41.02) ศิลป์(38.89) ศษ(34.80) เศรษฐ(33.51) รัฐ(32.55) วสส(29.72) คณะที่ต่ำกว่าเกณฑ์สันติ(3.09)วิเทศ(16.28) คณะที่ใกล้เคียงกับเกณฑ์มส(23.09) บริการ(26.32)

  11. ตัวชี้วัดที่ ม.อ. มีผลการประเมินตามเกณฑ์ ได้ระดับ 1 คะแนน ตัวบ่งชี้ 2.5 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ อิงเกณฑ์ สมศ.กำหนดคุณวุฒิปริญญาตรี < 5% คณะที่มีอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรีมากกว่า 5% แพทย์แผนไทย(50.00) วิเทศ(41.67)นิติ(31.58)ศิลปกรรม (31.25) สันติ(16.67) วสส(14.81)ศิลป์(13.95)มส.(11.97) เภสัช(10.96) วท(7.38) คณะที่มีอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรีตามเกณฑ์ น้อยกว่า 5% รัฐ(0) วอศ(0) ศษ(0) วจก(0) อก(0) วทท(0) สวล(0) ทส(0) เทคนิค(0) พย(0) ทพ(0) ทธ(1.47) วทอ(2.5) วศ(4.47) พาณิชย์(4.55) เศรษ(4.76)  เฉลี่ยภาพมหาวิทยาลัย ม.อ. = 5.62 (ม.ข.= 3.9)

  12. ตัวชี้วัดที่ ม.อ. มีผลการประเมินตามเกณฑ์ ได้ระดับ 1 คะแนน ตัวบ่งชี้ 2.5 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ อิงเกณฑ์ สมศ.กำหนดคุณวุฒิปริญญาเอก > 60% คณะที่มีอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอกน้อยกว่า 60% สันติ(0.0) นิติ(5.26) พาณิชย์(6.06) วสส(7.41) วิเทศ(8.33) รัฐ(11.76) ศิลป&วจก(11.8) มส(14.79) แพทย์แผนไทย(16.67)เศรษฐ(19.05) วทส(21.43) ศิลป์(23.51) วจก(27.28) ศษ(33.78) วท.อ(37.50) วทท(44.27) บริการ(44.44) พย(47.46) วศ(54.19) วท(54.61) ทพ(54.76) คณะที่มีอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอกตามเกณฑ์ มากกว่า 60% แพทย์(94.75) อก(84.09) เทคนิค(80) ทธ(75.53) เภสัช(75.34) สวล(75) เฉลี่ยภาพมหาวิทยาลัย ม.อ. = 48.84 (ม.ข.= 55.6) หรือ เกณฑ์เพิ่มใหม่ มีค่าการเพิ่มขึ้นของ อ.ป.เอก จากปีที่ผ่านมา 5%

  13. ตัวชี้วัดที่ม.อ. มีผลการประเมินตามเกณฑ์ ในระดับ 1 คะแนน 2.6 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ อิงเกณฑ์ 1 สมศ. กำหนด ผศ+รศ+ศ > 70% : ผ่านเกณฑ์เพียงคณะเดียวคือ ทธ(72.06) คณะที่อาจารย์ประจำมีตำแหน่งวิชาการ ผศ+รศ + ศ น้อยกว่า 70% แพทย์แผนไทย(0) นิติ(0) สันติ(0) วิเทศ(2.08) สวล.(3.75) ศิลปะ&วจก(7.14) พาณิชย์(7.58) วทอ(8.75) วสส(11.11) ศิลปกรรม (12.5) มส.(14.79) วอศ(17.24) รัฐ(17.65) เทคนิค(20) ทส(23.81) วทท.(24.43) เศรษ(28.57) ศษ(36.49) ศิลป์(38.37) วท(46.49) อก(47.43) วจก.(45.83) ทพ(50) แพทย์(51.8) วศ(55.31) บริการ(55.6) พย(61.86) เภสัช(63.0)  เฉลี่ยภาพมหาวิทยาลัย ม.อ. = 38.5 (ม.ข.= 61.5)

  14. ตัวชี้วัดที่ม.อ. มีผลการประเมินตามเกณฑ์ ในระดับ 1 คะแนน 2.6 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ต่อ) อิงเกณฑ์2 สมศ. กำหนด รศ+ศ > 30% :ผ่านเกณฑ์เพียงคณะเดียวคือ ทธ(48.53) คณะที่อาจารย์ประจำมีตำแหน่งวิชาการ รศ + ศน้อยกว่า 30% แพทย์แผนไทย(0) นิติ(0) สันติ(0) ศิลปกรรม (0) บริการ(0) รัฐ(0) เทคนิค(0) วทอ(1.25) พาณิชย์(1.52) วิเทศ(2.08) ศิลปะ&วจก(2.38)วอศ(3.45) วสส(3.7) มส.(4.23) วทท(4.58) สวล(6.25) ทส(7.14) เศรษ(9.52) วจก(9.72) ศิลป์(10.47) ศษ(10.81) อก(11.36) พย(12.71) ทพ(15.48) วท(18.82) วศ(20.11) แพทย์(24.26) เภสัช(26.03)  เฉลี่ยภาพมหาวิทยาลัย ม.อ. = 13.9 (ม.ข.= 28.4)

  15. ตัวชี้วัดที่มีการกำหนดเกณฑ์ประเมินใหม่ตัวชี้วัดที่มีการกำหนดเกณฑ์ประเมินใหม่ ตัวบ่งชี้ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อ จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย: อิงเกณฑ์ สกอ.ที่กำหนดเป็นกลุ่มสาขาวิชา กลุ่มวิทย์เทคโนฯ, เกษตรฯ : คะแนนเต็ม 5 = 180,000 บาท/คน คณะที่สูงกว่าเกณฑ์อก(615,244) วศ(448,819)ทธ(329,525) วทท(320,842) วท(272,088) ทส(237,1875) คณะที่ต่ำกว่าเกณฑ์สวล(116,715) วท.อ.(137,430) กลุ่มวิทย์สุภาพ : คะแนนเต็ม 5 = 150,000 บาท/คน คณะที่สูงกว่าเกณฑ์เภสัช(398,055) แพทย์(189,288) คณะที่ต่ำกว่าเกณฑ์ทันตะ(80,648) พย(78,483) แพทย์แผนไทย(44,183) เทคนิค(-) กลุ่มสังคมฯ ศึกษา อื่นๆ : คะแนนเต็ม 5 = 75,000 บาท/คน คณะที่สูงกว่าเกณฑ์รัฐ(1,251,401) วจก(215,5741) เศรษฐ(157,091) ศษ(183,595) วสส(178,756) มส(94,885) ศิลปกรรม (83,115) คณะที่ต่ำกว่าเกณฑ์สันติ(-)นิติ(-) พาณิชย์(4,535) วอศ(8,620) วิเทศ(9,410) บริการ(25,831) ศิลป์(35,327) ศิลปะ&วจก(39,262)

  16. ทางเลือกในการแก้ปัญหาทางเลือกในการแก้ปัญหา เพิ่มจำนวนนักศึกษา : เกณฑ์ 8, 20, 25 เทคนิค(3.35)แพทย์(3.5) ทันตะ(4.1) อก(11.23) ทธ(12.61)สวล(14.17) วทท(15.76) วท.อ.(17.63) สันติ(3.09) วิเทศ(16.28) ตัวบ่งชี้ 2.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ ตัวบ่งชี้ 2.5 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มี วุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่อ อาจารย์ประจำ ตัวบ่งชี้ 2.6 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่ดำรง ตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ตัวบ่งชี้ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบันต่อ จำนวนอาจารย์ประจำ และนักวิจัย ลดจำนวนนักศึกษา หรือ เพิ่มจำนวนอาจารย์ - สิ่งที่ต้องคำนึง - คุณวุฒิ ป.เอก - ตำแหน่งวิชาการรศ., ศ

  17. ทางเลือกในการแก้ปัญหาทางเลือกในการแก้ปัญหา ลดจำนวนนักศึกษา : เกณฑ์ 8, 20, 25 แพทย์แผนไทย(14.27) ศิลปกรรม (11.49) ทส(24.75) วท(23.01) พาณิชย์(50.96) ศิลปะ&วจก(47.04) วจก(41.74) นิติ(41.02) ศิลป์(38.89) ศษ(34.80) เศรษฐ(33.51) รัฐ(32.55) วสส(29.72) หรือ เพิ่มจำนวนอาจารย์ - สิ่งที่ต้องคำนึง / ผลกระทบ - คุณวุฒิ  ป.เอก - ตำแหน่งวิชาการรศ., ศ - สัดส่วนเงินวิจัย/คน

  18. ขอขอบคุณ

More Related