1 / 12

นพดล พินธุกนก ดร . จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ ( อาจารย์ที่ปรึกษา )

ผลของจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงต่อสมรรถนะและการปลดปล่อยมลพิษของเครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบ ที่ใช้เชื้อเพลิงเอทิลเอสเทอร์ผสมดีเซล. นพดล พินธุกนก ดร . จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ ( อาจารย์ที่ปรึกษา ) ผศ . ดร . มานะ อมรกิจบำรุง ( อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ) ศ.ดร. ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์

callie
Download Presentation

นพดล พินธุกนก ดร . จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ ( อาจารย์ที่ปรึกษา )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลของจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงต่อสมรรถนะและการปลดปล่อยมลพิษของเครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบ ที่ใช้เชื้อเพลิงเอทิลเอสเทอร์ผสมดีเซล นพดล พินธุกนก ดร. จิรวรรณ เตียรถ์สุวรรณ (อาจารย์ที่ปรึกษา) ผศ.ดร. มานะ อมรกิจบำรุง (อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม) ศ.ดร. ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ ดร. พิพัฒน์ พิชเยนทรโยธิน สายวิชาเทคโนโลยีอุณหภาพ คณะพลังงานและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  2. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการปรับจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซลที่ใช้เชื้อเพลิงเอทิลเอสเทอร์ผสมดีเซลที่อัตราส่วนผสมต่างๆ

  3. เครื่องยนต์ที่ใช้ทดสอบเครื่องยนต์ที่ใช้ทดสอบ

  4. น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ในงานวิจัยน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ในงานวิจัย • น้ำมันดีเซลบริสุทธิ์ (D100) • น้ำมันไบโอดีเซลบริสุทธิ์ (E100) • น้ำมันผสมไบโอดีเซลโดยปริมาตรที่อัตราส่วน - ไบโอดีเซล 25 % ดีเซล 75% (B25) - ไบโอดีเซล 50 % ดีเซล 50% (B50) - ไบโอดีเซล 75 % ดีเซล 25% (B75)

  5. คุณสมบัติของน้ำมันเชื้อเพลิงคุณสมบัติของน้ำมันเชื้อเพลิง

  6. Nozzle Fuel Exhaust Air การทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ Intake Compression Power Exhaust

  7. q q q q ° ° ° ° 16 BTDC 13 BTDC 10 BTDC 7 BTDC จังหวะการฉีดเชื้อเพลิง TDC 10 7 13 16

  8. การสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง 25 kW 50kW 75 kW

  9. ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ 25 kW 75 kW 50 kW

  10. การปลดปล่อยมลพิษของเครื่องยนต์ที่ ภาระ 50 kW

  11. การปลดปล่อยมลพิษของเครื่องยนต์ที่ ภาระ 75 kW

  12. สรุปผลการวิจัย • การใช้น้ำมันไบโอดีเซลเอทิลเอสเทอร์ เครื่องยนต์มีการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงสูงกว่าการใช้ดีเซลประมาณ 2 – 20 % สูงขึ้นตามสัดส่วนไบโอดีเซลที่ผสมสูงขึ้น • การใช้ไบโอดีเซลส่งผลให้ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์สูงใกล้เคียงการใช้ดีเซล และมีแนวโน้มสูงกว่าดีเซลได้ที่ภาระเครื่องยนต์สูงขึ้น (หรือกล่าวได้ว่าการใช้น้ำมันไบโอดีเซลให้ผลดีที่ภาระเครื่องยนต์สูงๆ) • การปรับจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงส่งผลต่อประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ คือ เครื่องยนต์จะมีประสิทธิภาพสูงสุดที่จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงจุดหนึ่ง • การใช้ไบโอดีเซลเครื่องยนต์มีประสิทธิภาพสูงสุดที่จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงใกล้ศูนย์ตายบนกว่าการใช้ดีเซล หรือกล่าวว่าถ้าเราใช้น้ำมันไบโอดีเซลสามารถปรับจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงให้ล่าช้ากว่าดีเซลได้ • เครื่องยนต์ที่มีประสิทธิภาพสูงจะมีแนวโน้มการปลดปล่อยมลพิษ NOx สูง ในขณะที่ มลพิษ HC มีค่าต่ำลง • การปรับจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงก่อน TDC มากขึ้น แนวโน้มการปลดปล่อยมลพิษ NOx มีค่าสูงขึ้น ในขณะที่การปลดปลดมลพิษ HC มีค่าต่ำลง • เมื่อเทียบที่จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงที่ให้ประสิทธิภาพสูงสุดระหว่างการใช้ไบโอดีเซล กับดีเซล สรุปได้การใช้ไบโอดีเซลมีแนวโน้มการปลดปล่อยมลพิษโดยรวมต่ำกว่าการใช้ดีเซล

More Related