1 / 31

ระบบจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนระบบงาน HoMC

ระบบจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนระบบงาน HoMC และงานซ่อมบำรุง กรณีศึกษาศูนย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี Knowledge Management System for HoMC and Maintenance Case Study of Computer Center Suratthani Hospital. อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร . อนันท์ ชกสุริวงค์.

deion
Download Presentation

ระบบจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนระบบงาน HoMC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนระบบงาน HoMC และงานซ่อมบำรุง กรณีศึกษาศูนย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี Knowledge Management System for HoMC and Maintenance Case Study of Computer Center Suratthani Hospital อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร. อนันท์ ชกสุริวงค์ นำเสนอโดย : นายคมสัน ดุษฎี รหัสนักศึกษา: 5210121007 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  2. ที่มาและความสำคัญ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี Hardware Software

  3. การทำงานระบบเก่า

  4. ปัญหาระบบงานเดิน 1. องค์ความรู้ขององค์กรมีรูปแบบจัดเก็บที่ไม่เป็นระบบ 2. เจ้าหน้าที่ไม่สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ 3. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือ การให้บริการต่อเจ้าหน้าที่ภายในโรงพยาบาลทำ ได้ไม่สะดวก

  5. วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเป็นการรวบรวมความรู้ภายในศูนย์คอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ภายในศูนย์คอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นการนำระบบสารสนเทศการจัดการความรู้มาใช้กับศูนย์คอมพิวเตอร์

  6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย (ต่อ) 4 เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ฝ่ายซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ 5

  7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดรับจากการวิจัยประโยชน์ที่คาดว่าจะไดรับจากการวิจัย • 1. ได้ระบบจัดเก็บความรู้แบบรวมศูนย์ของศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี • ได้ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการแก้ปัญหาต่างๆ ในการปฏิบัติงานให้มี ความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น • 3. เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น 4. เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ในกรณีที่ผู้รับผิดชอบระบบงานนั้นๆ ไม่สามารถมาทำงานได้

  8. ขอบเขตของงานวิจัย ข้อมูลที่ใช้ :ข้อมูลระบบงาน HoMC และระบบงานซ่อมบำรุง ทฤษฎีที่ใช้:SECI MODEL ผลลัพธ์ที่ได้:ระบบจัดเก็บความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี สมมุติฐาน:ระบบจัดเก็บความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี เพื่อให้ศูนย์คอมพิวเตอร์มีระบบจัดเก็บองค์ความรู้ที่เป็นระบบ และเจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้มากขึ้น

  9. ทฤษฎีและหลักการ ทฤษฏีในการจัดทำ KM ใช้ ทฤษฎี SECI ของ Dr.Nonaka Lkujiro

  10. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยเรื่อง : ระบบจัดการความรู้สำหรับการเช่าซื้อรถยนต์กรณีศึกษาธนาคารธนชาต สำนักงานหาดใหญ่ งานวิจัยชิ้นนี้ให้แนวคิดการแบ่งทีมจัดการความรู้ออกเป็นส่วนๆ ประกอบด้วย ผู้อำนวยการธนาคารธนชาตสาขาหาดใหญ่ ผู้จัดการธนาคาร ธนชาตสาขาหาดใหญ่ หัวหน้าเจ้าหน้าที่การตลาด เจ้าหน้าที่การตลาด สำหรับระบบงานจัดเก็บความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์แบ่งทีมจัดการความรู้ออกเป็นสองส่วนเจ้าหน้าที่ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์

  11. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) งานวิจัยเรื่อง: การพัฒนาระบบจัดการความรู้ สำหรับฝ่ายสนับสนุนระบบ SAP ใน เครือบริษัทเบอร์ลีย์-คล๊าคเซฟ สกินไทยแลนด์ ประเทศไทยจำกัด งานวิจัยชิ้นนี้มีความสัมพันธ์กับสารนิพนธ์ในด้านออกแบบรูปแบบการถ่ายทอดความรู้โดยผู้มีประสบการณ์ถ่ายทอดความรู้ในรูปแบบของการถามตอบ Blog CoP Story telling สำหรับระบบจัดเก็บความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์แบ่งรูปแบบถ่ายทอดความรู้ BlogWebboard เอกสารดาวน์โหลด ดูคลิปวีดีโอ

  12. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) งานวิจัยเรื่อง : ระบบจัดการความรู้หน่วยงานสารสนเทศ ของกลุ่มบริษัท ศรีตรัง แอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) งานวิจัยชิ้นนี้มีความสัมพันธ์กับสารนิพนธ์ด้านแบ่งสิทธิการเข้าใช้งานระบบ คือผู้ดูแลระบบมีหน้าที่กำหนดสิทธิในระบบจัดการความรู้เจ้าหน้าที่ ทำหน้าบันทึกข้อมูลความรู้ใหม่เข้าสู่ระบบ ผู้ใช้งานทั่วไป หมายถึงกลุ่มบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจในเรื่องการจัดการสามารถดูและดาวน์โหลดเอกสารสำหรับระบบจัดเก็บความรู้แบ่งสิทธิการเข้าใช้งานระบบออกเป็น 3ส่วน คือเจ้าหน้าที่ทั่วไป เจ้าหน้าที่ที่เป็นสมาชิกและผู้ดูแลระบบ

  13. กระบวนการในการดำเนินงานวิจัยกระบวนการในการดำเนินงานวิจัย 1. การกำหนดความรู้(Define) 2. การสร้างและการถ่ายโอน (Create) 3. การแสวงหาและการจัดเก็บ (Capture) 4. การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน(Share) 5. การนำความรู้ไปใช้งาน (Use)

  14. ระบบงานใหม่ ระบบจัดเก็บความรู้

  15. การพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้งการพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้ง • จากภาระงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์กำหนดรูปแบบถ่ายทอดความรู้ • Blog • เว็บเว็บบอร์ด • เอกสารให้ดาวน์โหลด

  16. การพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้งรูปแบบ Blog 1. การกำหนดความรู้ 2. การสร้างและการถ่ายโอน 3. การแสวงหาและการจัดเก็บ 4 การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน 5. การนำความรู้ไปใช้งาน

  17. การพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้งรูปแบบเว็บบอร์ด 1. การกำหนดความรู้ 2. การสร้างและการถ่ายโอน 3. การแสวงหาและการจัดเก็บ 4. การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน 5. การนำความรู้ไปใช้งาน

  18. การพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้งรูปแบบดาวน์โหลดเอกสารการพัฒนาระบบความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ชัดแจ้งรูปแบบดาวน์โหลดเอกสาร 1. การกำหนดความรู้ 2. การสร้างและการถ่ายโอน 3. การแสวงหาและการจัดเก็บ 4 การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน 5. การนำความรู้ไปใช้งาน

  19. การพัฒนาความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ซ่อนเร้นการพัฒนาความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ซ่อนเร้น • ความรู้แบบซ่อนเร้นคือความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลสามารถอธิบายเป็นลายลักษณ์อักษรให้เข้าใจยากต้องสาธิตให้ดูจึงได้จัดเก็บให้อยู่ในรูปแบบ • คลิปวีดีโอที่สามารถดูได้ผ่านเว็บ

  20. การพัฒนาความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ซ่อนเร้นรูปแบบคลิปวีดีโอการพัฒนาความรู้ทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ความรู้ซ่อนเร้นรูปแบบคลิปวีดีโอ 1. การกำหนดความรู้ 2. การสร้างและการถ่ายโอน 3. การแสวงหาและการจัดเก็บ 4. การแบ่งปันและแลกเปลี่ยน 5. การนำความรู้ไปใช้งาน

  21. แนวทางการประเมินระบบ ผู้วิจัยได้ทำการประเมินระบบจัดการความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีประเมินเกณฑ์การออกแบบเว็บไซต์ ความถี่การเข้าใช้งานระบบเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2554 เจ้าหน้าที่ซอฟต์แวร์ จำนวน 5 คน เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่ฮาร์ดแวร์ จำนวน 5 คน

  22. การทดสอบและประเมินผล 1. เกณฑ์การออกแบบเว็บไซต์ รูปแบบการจัดวางข้อมูลความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลความเหมาะสมของขนาดอักษรสามารถเข้าใจได้ง่าย ความถูกต้องของข้อมูลระบบมีความถูกต้องมากน้อยเพียงใดความถูกต้องในการค้นหาข้อมูลมีความถูกต้อง

  23. การทดสอบและประเมินผล (ต่อ) สรุปผล : ที่ได้จากแบบสำรวจจากเจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด 10 คน ให้คะแนนรวมคิดเป็นร้อยละเท่ากับ 76.8 คะแนน สรุปอยู่ในช่วงที่ ดี

  24. การทดสอบและประเมินผล (ต่อ) 2. ความถี่การเข้าใช้งานระบบ วิเคราะห์ความถี่การเข้าใช้งานระบบจัดการความรู้โดยแบ่งออกเป็นรูปแบบจัดเก็บองค์ความรู้

  25. การทดสอบและประเมินผลเรื่องเล่าดีๆ Blog สรุปผล : จากการเข้าใช้เรื่องเล่าดีๆ Blog ค่าเฉลี่ยของ Blog ทั้งหมด 21 Blog เฉลี่ยอยู่ที่ 3Blog /สัปดาห์อยู่ในระดับปานกลาง

  26. การทดสอบและประเมินผลเว็บบอร์ด (Board) สรุปผล : มีจำนวนหัวข้อและการแสดงความคิดเห็นข้อความทั้งหมด 25 Post/เดือน เฉลี่ยอยู่ในระดับที่ดี

  27. การทดสอบและประเมินผลดาวน์โหลดเอกสารและดาวน์โหลดคลิป สรุปผล : มีจำนวนเอกสารให้ดาวน์โหลดทั้งหมด 32 หัวข้อให้ดาวน์โหลด และมีจำนวนครั้งในการดาวน์โหลดทั้งหมด 423 ครั้งซึ่งมีค่าเฉลี่ยต่อหัวข้อเท่ากับ 13.21 ครั้งอยู่ในเกณฑ์ที่ดี

  28. การทดสอบและประเมินผล ดู คลิปวีดีโอ สรุปผล : จากการตรวจสอบจำนวนคลิปคลิปเพิ่มขึ้นอยู่ที่ 8 คลิป/เดือนอยู่ในระดับปานกลาง

  29. บทสรุปและข้อเสนอแนะ การนำ Open Source มาใช้ในการพัฒนาระบบบางครั้งอาจไม่ตรงกับความต้องการมากนักดังนั้นถ้าหากคิดพัฒนาระบบที่มีความซับซ้อนมากกว่านี้ต้องพัฒนาขึ้นมาเองโดยไม่ต้องใช้ Open Source

  30. ผลที่ได้จากการใช้ระบบผลที่ได้จากการใช้ระบบ การจัดทำระบบจัดการความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์ได้ระบบจัดเก็บองค์ความรู้งานศูนย์คอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบมากขึ้น เจ้าหน้าที่สามารถเข้ามาถ่ายทอดความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และสามารถปฏิบัติงานแทนกันได้มากขึ้น

  31. ขอบคุณครับ

More Related