1 / 64

สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2556

สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2556. บทที่ 1. บทนำ. 2. 1. สำมะโนการเกษตร คือ.  การเก็บรวบรวมข้อมูล โครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตร  โดยสอบถามจาก ผู้ถือครองทำการเกษตร ทุกคนทั่วประเทศ. เปรียบเสมือนการฉายภาพนิ่งของการเกษตร ของประเทศไทย ณ วันสำมะโน. 3. 2. ความเป็นมา. จัดทำมาแล้ว 5 ครั้ง.

amil
Download Presentation

สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำมะโนการเกษตร พ.ศ. 2556

  2. บทที่ 1 บทนำ 2

  3. 1. สำมะโนการเกษตร คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล โครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตร โดยสอบถามจากผู้ถือครองทำการเกษตร ทุกคนทั่วประเทศ เปรียบเสมือนการฉายภาพนิ่งของการเกษตร ของประเทศไทย ณ วันสำมะโน 3

  4. 2. ความเป็นมา จัดทำมาแล้ว 5 ครั้ง สำรวจการเปลี่ยนแปลง ทางการเกษตร ครั้งที่ 1 พ.ศ.2493 ครั้งที่ 2 พ.ศ.2506 ครั้งที่ 1 พ.ศ.2526 ครั้งที่ 3 พ.ศ.2521 ครั้งที่ 2 พ.ศ.2531 ครั้งที่ 4 พ.ศ.2536 ครั้งที่ 3 พ.ศ.2541 ครั้งที่ 5 พ.ศ.2546 ครั้งที่ 4 พ.ศ.2551 ครั้งที่ 6 พ.ศ.2556 4

  5. 3.วัตถุประสงค์ 1) เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน ทางการเกษตร 2) เพื่อให้มีข้อมูลระดับพื้นที่ย่อย (ระดับหมู่บ้าน) สำหรับใช้ประกอบ การวางแผนพัฒนาในระดับประเทศ และท้องถิ่น 5

  6. 3.วัตถุประสงค์ (ต่อ) 3) เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นกรอบ ในการเลือกตัวอย่าง 4) เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้าง พื้นฐานทางการเกษตรในรอบ 10 ปี 6

  7. 4.ขอบข่าย การทำการเกษตร หมายถึง 1. การเพาะปลูกพืช 2. การเลี้ยงปศุสัตว์ 3. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 4. การทำนาเกลือสมุทร “โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขาย” 7

  8. 4.ขอบข่าย (ต่อ) 1. การเพาะปลูกพืช ได้แก่ การเพาะปลูกข้าว ยางพารา พืชยืนต้น/ไม้ผลและสวนป่า พืชไร่ พืชผัก/สมุนไพร และไม้ดอกไม้ประดับ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ การเพาะชำพันธุ์ไม้ การเพาะเห็ด และการเพาะเชื้อเห็ด (รวมการเพาะปลูกข้าวเพื่อบริโภค) ดังนี้ 8

  9. 4.ขอบข่าย (ต่อ) 2. การเลี้ยงปศุสัตว์ ได้แก่ การเลี้ยงวัว ควาย หมู แพะ แกะ ไก่ เป็ด ห่าน และไหม (รวมการเลี้ยงวัว/ควาย เพื่อใช้งานเกษตร) 9

  10. 4.ขอบข่าย (ต่อ) 3. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด (รวมการเพาะฟัก และ/หรืออนุบาลสัตว์น้ำ ในพื้นที่น้ำจืด) ได้แก่ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด จำพวก ปลา สัตว์น้ำสวยงามอื่นๆ กุ้ง กบ ตะพาบน้ำ จระเข้น้ำจืด และปลาสวยงาม • (รวม สัตว์น้ำกร่อยที่นำมาเลี้ยงในพื้นที่น้ำจืด) 10

  11. 4.ขอบข่าย (ต่อ) 4. การทำนาเกลือสมุทร ในพื้นที่ 7 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี จันทบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี และปัตตานี) 11

  12. 4.ขอบข่าย (ต่อ) ไม่รวม 1. การทำการเกษตรเพื่อการศึกษา ทดลอง การแข่งขัน การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ 2. การบริการทางการเกษตร เช่น รับจ้างไถนา รับจ้างขุดบ่อ รับจ้างฟักไข่ รับจ้างผสมพันธุ์สัตว์ 12

  13. หมายเหตุ สำมะโนครั้งนี้ได้ผนวกข้อถาม - การทำประมงน้ำจืด - การทำประมงทะเล - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง(รวมเพาะพันธุ์) “ไว้ในแบบนับจดด้วย” การทำประมงทะเล และการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำชายฝั่ง(รวมเพาะพันธุ์) ทำเฉพาะ 24 จังหวัด ชายทะเล 13

  14. 5.คุ้มรวม ผู้ถือครองทำการเกษตรทุกคน ในทุกท้องที่ทั่วประเทศ ทั้งในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล 14

  15. 6.ข้อมูลที่เก็บรวบรวม (ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานหลักทางการเกษตร) ตอนที่ 1 ลักษณะการดำเนินงานและสถานภาพ ของผู้ถือครอง ตอนที่ 2 เนื้อที่ถือครองทำการเกษตร ตอนที่ 3 การเลี้ยงปศุสัตว์ ตอนที่ 4 ข้าว 15

  16. 6.ข้อมูลที่เก็บรวบรวม (ต่อ) ตอนที่ 5 ยางพารา ตอนที่ 6 พืชยืนต้น ไม้ผล และสวนป่า ตอนที่ 7 พืชผัก สมุนไพร และไม้ดอกไม้ประดับ ตอนที่ 8 พืชไร่ ตอนที่ 9 การทำนาเกลือสมุทร ตอนที่ 10 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในพื้นที่น้ำจืด 16

  17. 6.ข้อมูลที่เก็บรวบรวม (ต่อ) (ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตรอื่นๆ) ตอนที่ 11 เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ การขนส่งเพื่อการเกษตร ตอนที่ 12 ปุ๋ยและการป้องกัน/กำจัดศัตรูพืช ตอนที่ 13 ลูกจ้างทำงานเกษตร 17

  18. 6.ข้อมูลที่เก็บรวบรวม (ต่อ) ตอนที่ 14 สมาชิกในครัวเรือนผู้ถือครองและ ลักษณะการทำงาน ตอนที่ 15 การศึกษาและการเป็นสมาชิก องค์กรด้านการเกษตรของผู้ถือครอง ตอนที่ 16 รายได้และหนี้สินทางการเกษตร ของครัวเรือนผู้ถือครอง 18

  19. 7. การเก็บรวบรวมข้อมูล “Closed Segment Concept” ในระดับจังหวัด ใช้วิธี ผู้ถือครองจะถูกนับจดและแจงนับ ในจังหวัดที่มีการทำการเกษตรเท่านั้น 19

  20. 7. การเก็บรวบรวมข้อมูล(ต่อ) พร้อมกันทั่วประเทศในเดือน พฤษภาคม 2556 โดย 1) สัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนทุกครัวเรือน เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานทางการเกษตร และหาผู้ถือครองทำการเกษตร (การนับจด) 2) สัมภาษณ์ผู้ถือครองทำการเกษตรทุกคน ประมาณ 7.7 ล้าน (การแจงนับ) 20

  21. 7. การเก็บรวบรวมข้อมูล(ต่อ) ผู้ปฏิบัติงานสนาม พนักงานแจงนับ (ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล) - อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน 17,000 คน เจ้าหน้าที่วิชาการ (ผู้ควบคุมงานสนาม) - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบล 3,000คน 21

  22. 1. การแจงนับโดยครบถ้วน ผู้ถือครองทำการเกษตรทุกคน ต้องถูกสัมภาษณ์ข้อมูลตอนที่ 1 - 10 2. การแจงนับโดยวิธีเลือกตัวอย่าง (25%) ผู้ถือครองทำการเกษตรที่ถูกเลือกเป็นตัวอย่าง ต้องถูกสัมภาษณ์ข้อมูลเพิ่มตอนที่ 11 - 16 8. ระเบียบวิธีการสำมะโนการเกษตร ใช้การแจงนับ 2 ลักษณะร่วมกัน 22

  23. 9. แบบต่างๆ ที่ใช้ แบบสอบถาม มี 2 แบบ คือ • 1. สก.1 (แบบนับจด) • 35 สดมภ์ • 2. สก.2 (แบบแจงนับ) • ตอนที่ 1 - 10 (100%) • ตอนที่ 11 - 16 ( 25%) 23

  24. 9. แบบต่างๆ ที่ใช้ (ต่อ) แบบธุรการ มี 4 แบบ คือ 1. สก.1/1: แบบสรุปรวมยอด จากแบบสก.1 2. แบบ สก.3 : แบบมอบงาน – ส่งงาน 3. แบบสก.4 : แบบรายงานผลการตรวจงาน ของเจ้าหน้าที่วิชาการ 4. แบบใบขอรับเงินค่าตอบแทน 24

  25. 10. เวลาอ้างอิง • วันสำมะโน : • 1 พ.ค. 2556 2) ในรอบ 12 เดือนที่แล้ว : 1พ.ค.2555 – 30 เม.ย.2556 25

  26. 11. คาบเวลาการปฏิบัติงานสนาม เจ้าหน้าที่สสช.ปฏิบัติงานสนาม ใน EA ที่มี คร.เกษตร  20 ครัวเรือน 16 – 31 มี.ค., เม.ย. 56 นับจด-แจงนับ(แบบเจาะ) ผู้ถือครองทำการเกษตร เฉพาะแบบยาว 100% (ตอนที่ 1-16) นับจด – ครัวเรือนประมงน้ำจืดประมงทะเลเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง(รวมเพาะพันธุ์)

  27. 11. คาบเวลาการปฏิบัติงานสนาม อกม. ปฏิบัติงานสนาม ใน EA ที่มี คร.เกษตร > 20 ครัวเรือน 1– 31 พ.ค. 56 นับจด-แจงนับ(แบบปกติ) ผู้ถือครองทำการเกษตร แบบสั้น 100% (ตอนที่ 1-10) แบบยาว 25% (ตอนที่ 1-16) นับจด – ครัวเรือนประมงน้ำจืด ประมงทะเล เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง (รวมเพาะพันธุ์)

  28. 12. มาตราส่วนที่ใช้ 2 เมตร = 1 วา 4 ตารางเมตร = 1 ตารางวา 1,600 ตารางเมตร = 400 ตารางวา 400 ตารางวา = 1 ไร่ ในการบันทึกเนื้อที่ ให้บันทึกเป็นไร่ และตารางวา เท่านั้น 28

  29. การจัดทำรายงาน - รายงานผลเบื้องต้น ส.ค. 56 - รายงานผลล่วงหน้า ต.ค. 56 - รายงานผลฉบับสมบูรณ์ พ.ย. 56 - ก.ย. 57 การเสนอผล 29

  30. การเผยแพร่ข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูล 1) เอกสารรายงาน แผ่นพับ,CD-ROM 2) Web publication : WWW.nso.go.th 3) Data warehouse 4) Geographic Information System : GIS 30

  31. บทที่ 2 เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมและปฏิบัติงานสนาม 31

  32. ประกอบด้วย 1. ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นที่ปรึกษา ระดับจังหวัด 2. ผู้ตรวจราชการสำมะโนการเกษตร 3. เจ้าหน้าที่โครงการ 4. สถิติจังหวัด/ผอ.สบจ. 32

  33. 5. เกษตรจังหวัด และเกษตรอำเภอ 6. เจ้าหน้าที่ผู้อบรม 7. เจ้าหน้าที่สถิติประจำจังหวัด/สบจ. 8. เจ้าหน้าที่วิชาการ 9. พนักงานแจงนับ 33

  34. แผนผังการบริหารงานสนามแผนผังการบริหารงานสนาม ผู้ว่าราชการจังหวัด/กทม. จนท.วิชาการ และ พนง.แจงนับ จนท.สถิติประจำจังหวัด/สบจ. เกษตรจังหวัด และเกษตรอำเภอ เจ้าหน้าที่ผู้อบรม สถจ./ผอ.สบจ. ผู้อำนวยการ สำนักงานสถิติแห่งชาติ รองผู้อำนวยการ สำนักงานสถิติแห่งชาติ ผู้ตรวจราชการ สำนักสถิติสังคม (ผู้บริหาร สสช.) 34

  35. เจ้าหน้าที่โครงการและสำนักอื่นที่เกี่ยวข้องเจ้าหน้าที่โครงการและสำนักอื่นที่เกี่ยวข้อง จนท.ผู้อบรม(สถจ./สบจ.) แผนการอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติงานสนาม • เจ้าหน้าที่สถิติประจำจังหวัด/ • สำนักบริหารจัดเก็บข้อมูลสถิติ จนท.ผู้อบรม(ส่วนกลาง) เจ้าหน้าที่วิชาการ (ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานสนาม) พนักงานแจงนับ -เจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานอำเภอ (ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล) 35

  36. บทที่ 3 หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ ผู้ประสานงานอำเภอ/เขต 36

  37. หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานอำเภอ/เขตหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานอำเภอ/เขต มีดังนี้ 1. เป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ผู้อบรม 2. เป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. ช่วยตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล 4. ช่วยทำการประมวลผลเบื้องต้น (แบบ สก.1, สก.2) 37

  38. ขั้นตอนในการดำเนินงานขั้นตอนในการดำเนินงาน 1. ก่อนการปฏิบัติงานสนาม 1) เข้ารับการอบรมและทดลองปฏิบัติงานสนาม 2) เป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ผู้อบรม ในระหว่างอบรม 3) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และช่วยในการเตรียมงานสนาม 38

  39. ขั้นตอนในการดำเนินงาน (ต่อ) 2. ขณะปฏิบัติงานสนาม 1) ประสานงานและติดตามการปฏิบัติงานสนามในเขตปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย 2) ออกปฏิบัติงานสนามเมื่อจำเป็น 3) ช่วยตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล 4) ทยอยรับมอบเอกสารพร้อมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ 5) งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 39

  40. บทที่ 4 หน้าที่ของเจ้าหน้าที่วิชาการ 40

  41. หน้าที่ของเจ้าหน้าที่วิชาการหน้าที่ของเจ้าหน้าที่วิชาการ 1. อบรมวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ให้คำปรึกษา แนะนำและควบคุมดูแล พนักงานแจงนับ 2. ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ความเป็นไปได้ของข้อมูล 3. ติดตามความก้าวหน้าในระบบติดตามงานบนเว็บไซต์ตามคาบเวลาที่กำหนด 41

  42. 1. ก่อนการปฏิบัติงานสนาม • เข้ารับการอบรมและทดลองปฏิบัติ งานสนาม 2) รับมอบหมายให้ควบคุมการปฏิบัติงาน ของพนักงานแจงนับ 5-7 คน 3) รับมอบปริมาณงาน เครื่อง Tablet และเอกสารต่างๆ พร้อมทั้งอุปกรณ์ ของพนักงานแจงนับที่รับผิดชอบ 42

  43. ตรวจสอบรายละเอียดเบื้องต้น • ของเอกสาร พร้อมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ 5) มอบหมายงาน โดยกำหนดเขต และ คาบเวลาปฏิบัติงานให้พนักงานแจงนับ พร้อมมอบเครื่อง Tablet และอุปกรณ์ ปฏิบัติงาน 43

  44. 6) กำหนดวัน เวลา และสถานที่นัดหมายกับพนักงานแจงนับเพื่อชี้แจงเพิ่มเติม/ติดตามงาน 7) ทราบที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ ของพนักงานแจงนับ เพื่อสะดวกในการติดตาม 44

  45. 2. ขณะปฏิบัติงานสนาม • ติดตาม สังเกตการณ์ และตรวจสอบ การปฏิบัติงาน เพื่อให้เสร็จทันตามคาบเวลาที่กำหนด 2) ให้คำปรึกษาแนะนำ และแก้ไขปัญหา 45

  46. 3) สัมภาษณ์ซ้ำ 2 ครัวเรือน : พนักงานแจงนับ 1 คน ในระยะแรกเริ่มปฏิบัติงาน 4) ตรวจสอบความถูกต้อง และความ เป็นไปได้ของปริมาณงาน 5) ออกปฏิบัติงานสนามเมื่อจำเป็น 46

  47. 3. หลังการปฏิบัติงานสนาม • ทยอยรับมอบ และตรวจสอบความ • ครบถ้วน และสภาพความสมบูรณ์ของ • เครื่อง Tablet 2) ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของ ปริมาณงานในแต่ละเขตแจงนับ • ตรวจสอบความถูกต้อง เป็นไปได้ของจำนวนบ้าน/จำนวนครัวเรือนเกษตร • ที่นับจดได้กับบัญชีเขตแจงนับ 47

  48. (2) ถ้าผลต่างเกิน 10 % ให้เจ้าหน้าที่วิชาการ และพนักงานแจงนับออกไปตรวจสอบ ในพื้นที่นั้นว่าเป็นเพราะเหตุใด (3) ถ้าหมดคาบการปฏิบัติงานสนาม มีครัวเรือนที่ยังนับจดไม่ได้เจ้าหน้าที่วิชาการ ต้องดำเนินการแทนพนักงานแจงนับ 3) ทยอยส่งมอบเอกสารพร้อมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ 48

  49. บทที่ 5 หน้าที่ของพนักงานแจงนับ 49

  50. 1. ปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลในเขตแจงนับที่ได้รับมอบหมาย หน้าที่ของพนักงานแจงนับ มีดังนี้ 2. ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของข้อมูล 3. ส่งข้อมูลขึ้น Server 4. ตรวจสอบดูความก้าวหน้าของ การปฏิบัติงานสนาม ที่ตนเองรับผิดชอบ 50

More Related