1 / 67

ยุทธศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 – 2555 ( ร่าง 2)

ระดมสมอง และ รับฟังความคิดเห็น. ยุทธศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 – 2555 ( ร่าง 2). ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์. บริบทที่สำคัญของมหาวิทยาลัย. ( ร่าง ) ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย. ( ร่าง ) ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551-2555. ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์.

Olivia
Download Presentation

ยุทธศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 – 2555 ( ร่าง 2)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระดมสมอง และ รับฟังความคิดเห็น ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพ.ศ. 2551 – 2555(ร่าง 2)

  2. ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์ บริบทที่สำคัญของมหาวิทยาลัย (ร่าง) ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย (ร่าง) ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551-2555

  3. ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์และ ยุทธศาสตร์จุฬาฯ เมื่อครบ 100 ปี พรบ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551 โครงการ ยุทธศาสตร์สำคัญ ที่ต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551 – 2555 [ร่าง 1] แผนบริหาร ราชการแผ่นดิน ของรัฐบาล นโยบายของ อธิการบดีเสนอต่อ สภามหาวิทยาลัย สัมมนาร่วมกับคณบดีและผู้อำนวยการสถาบัน 30 เม.ย. – 2 พ.ค. ที่ ระยอง ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551 – 2555 [ร่าง 2]

  4. ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์ที่มาและแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551 – 2555 [ร่าง 2] กำหนด KPI และเป้าหมายของแต่ละ KPI สื่อสารและกระจายเป้าหมาย KPI สู่คณะ / สถาบัน ระดมความคิด ให้ทุกคนมีส่วนร่วม กรรมการประจำคณะ/สถาบัน ณ ร.ร.ตะวันนารามาดา 15 พ.ค.51 สภาคณาจารย์ ณ ศูนย์สารนิเทศ 23 พ.ค.5 1 สมาคมศิษย์เก่า ทุกคณะ ณ สมาคมศิษย์เก่า 28 พ.ค.5 1 ตัวแทนนิสิตปัจจุบัน อยู่ระหว่างกำหนดสถานที่และเวลา สายบริหารและสนับสนุน อยู่ระหว่างกำหนดสถานที่และเวลา ยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2551 – 2555 [ร่าง 3] นำเสนอที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย และถ่ายทอดแผนฯ / KPI /เป้าหมายสู่คณะ สถาบัน วิทยาลัย สำนักวิชา โดยตรง (ลงเยี่ยม) และผ่านช่องทางอื่นๆ เพื่อร่วมกันทำให้ความฝันเป็นจริง

  5. วิสัยทัศน์(จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครบ 100 ปี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งความรู้และแหล่งอ้างอิงของแผ่นดิน เป็นผู้นำทางปัญญา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

  6. พันธกิจของมหาวิทยาลัยพันธกิจของมหาวิทยาลัย • บุกเบิกองค์ความรู้ใหม่และบูรณาการองค์ความรู้เพื่อประโยชน์ของสังคมไทย • สร้างปัญญาและถ่ายโอนองค์ความรู้กับสาธารณะเพื่อช่วยพัฒนาสังคมไทยไปสู่การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนในประชาคมโลก • สร้างบัณฑิตที่มีความรู้และทักษะที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติและเหมาะสมกับสังคม • เสริมสร้างนิสิตให้เป็นบัณฑิตที่สามารถครองตนอย่างมีคุณธรรมและเป็นผู้นำสังคมได้ • ทำนุบำรุงและสืบสานศิลปวัฒนธรรม

  7. บริบทภายนอก บริบทภายใน บริบทที่ท้าทายของมหาวิทยาลัย

  8. การแข่งขันของมหาวิทยาลัย(ภายใน & ภายนอกประเทศ) ส่งผลกระทบต่อ รูปแบบความต้องการของผู้บริโภค & สังคม ต่อมหาวิทยาลัย ภาพลักษณ์ & คุณภาพของระบบการศึกษา ของประเทศ พลวัตของการเปลี่ยนแปลง (เศรษฐกิจ/สังคม/การเมือง/ สภาพแวดล้อม/วัฒนธรรม) ส่งผลต่อศักยภาพในการ แข่งขัน & บทบาทของมหาวิทยาลัย บริบทภายนอก

  9. ความท้าทายภายในมหาวิทยาลัยความท้าทายภายในมหาวิทยาลัย เพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการจัดการ ทรัพยากร (Efficient& Effective Resource Management) ความคล่องตัว (Agility) ในการปรับตัวเพื่อรองรับ อนาคต ความผูกพันของประชาคมชาวจุฬาฯ (Workforce Engagement) บริบทภายใน

  10. ความแตกต่างทางความคิดที่ขาดการประสานให้เกิดสมดุล & การสร้างความสอดคล้องไปในทิศทางเพื่อการสร้างสรรค์ที่เพียงพอ การใช้ศักยภาพของนิสิต (Input ชั้นเลิศ) ความท้าทายด้านการจัดการ เรื่องการออกนอกระบบ บริบทภายใน (ต่อ)

  11. ! เป็น เสาหลักของแผ่นดิน (Pillars of the Kingdom) บ้านอันอบอุ่นของคนดี & คนเก่ง เป็น วิสัยทัศน์ & เป้าประสงค์ จุฬาฯ

  12. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับความท้าทายที่สำคัญข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับความท้าทายที่สำคัญ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ ชื่อ-นามสกุล _________________________________________ คณะ _____________________________________ โทร. / e-mail_ ___________________________________________________

  13. มาตรา 8 5 ส. – เสมอภาค เสรีภาพ สู่สังคม ส่วนร่วม (โปร่ง) ใส 2 ค. – คุณภาพ (เป็นเลิศระดับนานาชาติ) คุณธรรม 13

  14. จุฬาฯ เป็น เสาหลักของแผ่นดิน (Pillars of the Kingdom) บ้านอันอบอุ่นของคนดีและคนเก่ง เข้ม แข็ง ยอม รับ เกื้อ กูล ก้าว หน้า มั่น คง เป็น สุข

  15. ก้าวหน้า เข้มแข็ง การพัฒนาวิชาการและการวิจัย มุ่งยุทธศาสตร์ “เชิงรุก” ยอมรับ

  16. ก้าวหน้า – เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับโลกมีมาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการอันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ

  17. หน่วยงานที่จัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกหน่วยงานที่จัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Academic Ranking of World Universitiesโดย Shanghai Jiao Tong University Webometrics Ranking of World Universities โดย www.webometrics.info Times Higher Education Supplementโดย Quacquarelli Symonds (QS)

  18. Academic Ranking of World Universities (ARWU) ได้เริ่มจัดอันดับในปี ค.ศ. 2004 เป็นการจัดอันดับคุณภาพเชิงปริมาณโดยรวมทุกสาขาวิชา ได้รับการอ้างอิงในบทความของนิตยสาร The Economist หลายครั้ง ให้น้ำหนักไปที่งานวิจัยและศักยภาพทางวิชาการที่สามารถวัดได้ มีการปรับเปลี่ยนตัวชี้วัดและอัตราส่วนในแต่ละครั้ง ให้คะแนนด้านวิชาการ 4 ด้าน ด้านละ 20%, ศิษย์เก่าที่ได้รับรางวัลเกียรติยศ 10%, และอัตราส่วนผลงานวิจัยต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 10%

  19. Shanghai Jiao Tong Criteria

  20. Webometrics Ranking of World Universities จัดทำขึ้นเพื่อแสดงความตั้งใจของสถาบันต่าง ๆ ในการเผยแพร่ความรู้สู่เว็บ และเป็นความริเริ่มเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความรู้อย่างเปิดกว้าง (Open Access) ทั่วโลก อันดับ Webometrics จะบอกถึงปริมาณและคุณภาพของสิ่งตีพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ของสถาบัน เพื่อใช้ร่วมกับตัวชี้วัดอื่น ๆ ในการประเมินผลงานวิจัยของสถาบัน ไม่ได้ต้องการจัดอันดับคุณภาพการศึกษาหรือชื่อเสียงทางวิชาการ

  21. Times Higher Education Supplement เริ่มในปี ค.ศ. 2004 เป็นความร่วมมือระหว่าง Times Higher Education (THE) และ QS THE เป็นหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ที่จำหน่ายให้กับนักวิชาการในสหราชอาณาจักรและประเทศต่าง ๆ ตั้งแต่ปี 1971 QS (Quacquarelli Symonds PTE Ltd.) บริษัทที่ปรึกษาในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี 1989/90 ประกาศผลการจัดอันดับในเดือนตุลาคมของทุกปี

  22. Ranking Criteria & Weights *All decisions regarding the allocation of weightings are the responsibility of the Times Higher Education Supplement

  23. ผลการจัดอันดับโลกปี ค.ศ. 2007 THE – QS 1 Harvard 2= Cambridge 2= Yale 2= Oxford 5 Imperial 6 Princeton 7= Caltech 7= Chicago 8 UCL 10 MIT SHANGHAI 1 Harvard 2 Stanford 3 Berkeley 4 Cambridge 5 MIT 6 Caltech 7 Columbia 8 Princeton 9 Chicago 10 Oxford WEBOMETRICS 1 MIT 2 Stanford 3 Harvard 4 Penn State 5 Berkeley 6 Michigan 7 Wisconsin 8 Minnesota 9 Illinois 10 Cornell

  24. ผลคะแนนตัวชี้วัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผลคะแนนตัวชี้วัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  25. อันดับโลกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อันดับโลกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  26. ผลการจัดอันดับของจุฬาฯในสาขาต่างๆผลการจัดอันดับของจุฬาฯในสาขาต่างๆ

  27. ก้าวหน้า

  28. ก้าวหน้า

  29. ก้าวหน้า

  30. โครงการเพิ่มสัดส่วนของผลงานทางวิชาการที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติในฐาน SCOPUS ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ โครงการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนทุกระดับสู่ระดับนานาชาติ โครงการ Asian World University Gateway โครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง ตัวอย่างโครงการเพื่อรองรับยุทธศาสตร์“ก้าวหน้า”

  31. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับร่างยุทธศาสตร์ “ก้าวหน้า” • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ ชื่อ-นามสกุล _________________________________________ คณะ _____________________________________ โทร. / e-mail_ ___________________________________________________

  32. เข้มแข็ง – เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ มีคุณธรรมควบคู่ไปกับความเป็นเลิศทางวิชาการและเสรีภาพทางวิชาการ • จุฬาฯ มีระบบบริหารที่มีประสิทธิภาพและความคล่องตัว • จุฬาฯ มีระบบบริหารคุณภาพที่เข้มแข็งและผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพจากองค์กรภายนอก • จุฬาฯ มีการสร้างธรรมาภิบาล ความพร้อมและความสามารถปรับตัวอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกับสถานะมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ

  33. สร้างสภาวะแวดล้อมและแรงจูงใจสร้างสภาวะแวดล้อมและแรงจูงใจ 29

  34. เข้มแข็ง

  35. โครงการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการบริหารภายในด้านต่างๆ ของมหาวิทยาลัย โครงการจัดตั้งสำนักกฎหมาย โครงการพัฒนาและปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัย ตัวอย่างโครงการเพื่อรองรับยุทธศาสตร์“เข้มแข็ง”

  36. โครงการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพทั้งองค์กร CU-Quality WAYS โครงการพัฒนาและบูรณาการระบบสารสนเทศ เพื่อการวางแผน บริหารคุณภาพ ควบคุมภายใน บริหารความเสี่ยง แบบบูรณาการ ตัวอย่างโครงการเพื่อรองรับยุทธศาสตร์“เข้มแข็ง”

  37. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับร่างยุทธศาสตร์ “เข้มแข็ง” • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ ชื่อ-นามสกุล _________________________________________ คณะ _____________________________________ โทร. / e-mail_ ___________________________________________________

  38. ยอมรับ – จุฬาฯ เป็นเสาหลักของแผ่นดิน รับผิดชอบและนำความรู้สู่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น • บัณฑิตมีคุณภาพสูง ได้มาตรฐานสากล มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และตอบสนองความต้องการของสังคม • จุฬาฯ มีระบบดักจับ “โอกาส” ของการพัฒนา นำสู่กิจกรรมวิชาการและงานวิจัยที่ตอบสนองกระแสสังคม • จุฬาฯ มีขีดความสามารถในการเข้าถึงชุมชน เสริมพลัง และสนับสนุนชุมชนในการแก้ปัญหา และพัฒนาที่ยั่งยืน

  39. ทรัพย์สิน (Asset) ทรัพยากร/ทุน (Capital หรือ property) Social (ทุนทางสังคม) การสร้างการ “ยอมรับ” ในสังคม ปัญญา กายภาพ (Soft Asset) Education / Research Intellectual Property (Hard Asset) 47

  40. สร้างบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสร้างบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และ ตอบสนองความต้องการของสังคม 4’Hs Head (ความรู้) : ใฝ่รู้ - รู้รอบ Heart (ทำด้วยใจ) Health (สุขภาวะ) : ทั้ง 4 มิติ Hand (ศักยภาพ) : คิดเป็น/ทำเป็น/ สร้างสรรค์/ปรับตัว การผลิตบัณฑิตให้เป็นที่“ยอมรับ”

  41. Head (ความรู้) (ใฝ่รู้ / รู้รอบ) - ความรู้ทั่วไป - ความรู้พื้นฐานในการ ประกอบวิชาชีพ - ความรู้เฉพาะทาง / ทักษะวิชาชีพ Health (สุขภาวะ) - กาย - จิต - สังคม - ปัญญา Heart - คุณธรรม/จริยธรรม/วินัย - ครองตัว/ครองตน/ครองงาน - รับผิดชอบ - ผู้นำ Hand (ศักยภาพ) (คิดเป็น/ทำเป็น/สร้างสรรค์/ปรับตัว) - KManagement - รับรู้ & ปรับตัวเข้ากับ สถานการณ์และสิ่งแวดล้อม - ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ - Communication skill (ภาษา / IT)

  42. ความร่วมมือระยะสั้น ระยะปานกลาง ระยะยาว Networking Customer-Relationship Management (CRM) Branding Reputation & Liability แนวทางการมีส่วนร่วมกับภาคการผลิต / บริการ Excellence Center ภาคการผลิต / บริการ

  43. ยอมรับ

  44. โครงการส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์เชิงบูรณาการของนิสิตโครงการส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์เชิงบูรณาการของนิสิต โครงการดาวจุฬาฯ โครงการสานสัมพันธ์อาจารย์ - ศิษย์ โครงการส่งเสริมด้านศิลปะวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย โครงการ CU Gateway สู่สังคมไทย ตัวอย่างโครงการเพื่อรองรับยุทธศาสตร์“ยอมรับ”

  45. โครงการจุฬาฯ สระบุรี โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งวิทยาลัยเทคโนโลยีอาหารและการจัดการการเกษตร โครงการพัฒนาระบบการสื่อสารองค์กรเชิงบูรณาการ โครงการคลังปัญญาจุฬาฯ ตัวอย่างโครงการเพื่อรองรับยุทธศาสตร์“ยอมรับ”

  46. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับร่างยุทธศาสตร์ “ยอมรับ” • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ • __________________________________ ชื่อ-นามสกุล _________________________________________ คณะ _____________________________________ โทร. / e-mail_ ___________________________________________________

  47. เป็นสุข มั่นคง การสร้างบ้านอันอบอุ่น สำหรับคนดีและคนเก่ง วางยุทธศาสตร์ “ภายใน” เกื้อกูล

  48. เกื้อกูล – เป็นมหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา เกื้อกูลผู้ปฏิบัติงานและสนับสนุนชุมชน • นิสิตของจุฬาฯ ที่ขาดแคลนได้รับทุนอุดหนุนการศึกษาอย่างพอเพียง • บุคลากรและนิสิตผู้ประสบความเดือดร้อนได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีและต่อเนื่อง • จุฬาฯ มีการสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะของชุมชนรอบข้าง

  49. เกื้อกูล

More Related