1 / 21

สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555

สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555. โดย...นายประเสริฐดอยลอม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน. สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพารา ในรอบปี 2555 จังหวัดน่าน.

inoke
Download Presentation

สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555 โดย...นายประเสริฐดอยลอม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน

  2. สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555 จังหวัดน่าน จำนวน 51 ตัวอย่าง 4 อำเภอ (อำเภอเมืองน่าน, เวียงสา, ภูเพียง และอำเภอนาน้อย

  3. จำนวนต้นและพื้นที่ปลูกต่อรายจำนวนต้นและพื้นที่ปลูกต่อราย ต่ำสุด 112 ต้น/ 2ไร่ สูงสุด 5,000 ต้น/ 66.7 ไร่ เฉลี่ย 1,203 ต้น/ 16.27 ไร่

  4. ปีที่กรีด ต่ำสุด กรีดเป็นปีที่ 1 สูงสุด กรีดเป็นปีที่ 10

  5. ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ผลผลิตยางแผ่นดิบ ต่ำสุด 97.75 กก./ไร่ ( 22.7ไร่ กรีดปีที่ 3 ) สูงสุด 438.75 กก./ไร่ ( 8 ไร่ กรีดปีที่ 7 ) เฉลี่ย 154.24 กก./ไร่

  6. ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ผลผลิตยางก้อนถ้วย ต่ำสุด 101.33 กก./ไร่ ( 3 ไร่ กรีดปีที่ 1 ) สูงสุด 675.00 กก./ไร่ ( 15 ไร่ กรีดปีที่ 7 ) เฉลี่ย 354.19 กก./ไร่

  7. ราคาที่เกษตรกรขายได้ ยางแผ่นดิบ 74-84 บาท/กก. ยางก้อนถ้วย 30-60.30 บาท/กก.

  8. รายได้สุทธิเมื่อหักค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินสดรายได้สุทธิเมื่อหักค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินสด รายได้สุทธิต่อราย รายได้สุทธิต่อรายต่ำสุด ขาดทุน 3,661 บาท/ปี(3 ไร่ กรีดปีที่ 1) รายได้สุทธิต่อรายสูงสุด 689,400 บาท/ปี(40 ไร่ กรีดปีที่ 3) รายได้สุทธิต่อราย เฉลี่ย 204,564.63 บาท/ปี

  9. รายได้สุทธิต่อไร่ รายได้สุทธิต่อไร่ ต่ำสุดขาดทุน 1,220 บาท/ไร่(3 ไร่ กรีดปีที่ 1) รายได้สุทธิต่อไร่ สูงสุด 33,285.80 บาท/ไร่(10 ไร่ กรีดปีที่ 7) รายได้สุทธิต่อไร่ เฉลี่ย 12,575.24 บาท/ปี

  10. รายได้สุทธิต่อไร่ (ผลผลิตยางก้อนถ้วย) (อำเภอเมืองน่าน, เวียงสา, ภูเพียง) เฉลี่ย 10,182.66 บาท/ไร่ รายได้สุทธิต่อไร่ผลผลิตยางแผ่นดิบ(อำเภอนาน้อย) เฉลี่ย 14,365.68 บาท/ไร่

  11. สภาพการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สภาพการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ไม่เคยปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 5 ราย เคยปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 46 ราย

  12. จากรายที่เคยปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากรายที่เคยปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปลูกเท่าเดิม 1 ราย 2.17%(ปลูกยางพารา 3 ไร่ กรีดปีที่ 1) ปลูกลดลง 21 ราย 45.65% เลิกปลูก 24 ราย 52.17%

  13. อภิปรายผล .รายได้เฉลี่ยต่อไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ข้อมูลพื้นฐานจัดทำ GPP ปี 2553) 3,553.94 บาท/ไร่/ปี เปรียบเทียบกับรายได้ เฉลี่ยต่อไร่ ยางพารา 12,575.24 บาท/ไร่/ปี เพิ่มขึ้นเป็น 3.5 เท่า

  14. .ถ้าเกษตรกรเปลี่ยนจากการผลิตยางก้อนถ้วย (10,182.66 บาท/ไร่/ปี) เป็นผลิตยางแผ่นดิบ (14,365.68 บาท/ไร่/ปี) จะมีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้น 4,183.02 บาท/ไร่/ปี

  15. .เกษตรกรที่มีรายได้หลักจากยางพารามีแนวโน้ม เลิกปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เลิกปลูก 52.17%, ปลูกลดลง 45.65%)

  16. .ผลการศึกษาของสำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน(2551) มีการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จำนวน 854,701 ลิตร จากพื้นที่ 402,719 ไร่ หรือเฉลี่ย 2.12 ลิตรต่อไร่ ขณะที่ยางพาราเมื่อมีร่มเงาคลุมเต็มพื้นที่ (อายุ 4-5 ปี) จะไม่มีการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช

  17. . ผลการวิจัยของศูนย์วิจัยยางฉะเชิงเทรา พบว่า พื้นที่ยางพาราช่วยดูดซับ คาร์บอนไดออกไซด์ได้ไม่น้อยกว่า 1.72 ตัน ต่อ/ไร่/ปี

  18. ข้อเสนอ . ควรส่งเสริมเกษตรกรจังหวัดน่านปลูกยางพารา ทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพื่อ 1.1 เพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) 1.2 ลดการใช้สารเคมีบนพื้นที่สูง 1.3 เพิ่มพื้นที่สีเขียว ทดแทนเขาหัวโล้น 1.4 เพิ่มการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์

  19. ข้อเสนอ . ควรส่งเสริมเกษตรกรเปลี่ยนจากการผลิต ยางก้อนถ้วย เป็นผลิตยางแผ่นดิบ (รายได้เพิ่ม 4,183.02 บาท/ไร่)

  20. จบการนำเสนอ

More Related