1 / 38

มหกรรมนำเสนอผลงานวิชาการสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ประจำปี 2551

มหกรรมนำเสนอผลงานวิชาการสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ประจำปี 2551. วันที่ 26 – 27 สิงหาคม 2551. (ประเภทผลงานการวิจัยหรือ miniresearch ). “การให้คำแนะนำการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด ช่วงการถือศีลอดเดือนรอมฎอน”. นำเสนอโดย......เภสัชกรฮาเซ็ม จานิ

colin
Download Presentation

มหกรรมนำเสนอผลงานวิชาการสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ประจำปี 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มหกรรมนำเสนอผลงานวิชาการสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาสประจำปี 2551 วันที่ 26 – 27 สิงหาคม 2551 (ประเภทผลงานการวิจัยหรือ miniresearch)

  2. “การให้คำแนะนำการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด ช่วงการถือศีลอดเดือนรอมฎอน” นำเสนอโดย......เภสัชกรฮาเซ็ม จานิ ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสุไหงปาดี

  3. ที่มาของปัญหา • เดือนรอมฎอนเป็นช่วงของการถือศีลอด ผู้ป่วยจะงดบริโภคอาหารทุกชนิด รวมทั้งยารักษาโรค • มีผลกระทบต่อโรคบางอย่างที่ผู้ป่วยที่ต้องกินยาอย่างต่อเนื่อง เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและภาวะไขมันในเลือดสูง • เนื่องจาก “อาหาร” เป็นปัจจัยหลักในการควบคุมโรค • ผู้ป่วยข้อจำกัดจากการถือศีลอด ผู้ป่วยไม่กินยาตามฉลาก • แต่ปรับวิธีกินเองตามสะดวก เช่น ปรับ 1X3 เป็น 1X2

  4. ที่มาของปัญหา • การปรับวิธีการกินยาไม่เหมาะสม เกิดอาการแทรกซ้อนอื่นตามมา เช่น Hypoglycemia/Hyperglycemia • บทบาทเภสัชกร : การให้คำแนะนำในการปรับวิธีการกินยาที่ถูกต้อง ในช่วงถือศีลอด และสังเกตอาการไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ผู้ป่วยเบาหวาน มีการปรับวิธีการกินยาเองอย่างไร? แล้วในช่วงถือศีลอด เภสัชกรจะให้คำแนะนำที่ถูกต้องอย่างไร?

  5. แหล่งข้อมูลองค์ความรู้แหล่งข้อมูลองค์ความรู้ • แบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model ; HBM ) การนำ HBM ไปใช้ในทางเภสัชกรรม :Fincham และ Wertheimer พบว่าปัจจัยที่สำคัญของ Noncompliance เกิดจากผู้ป่วยขาดความเชื่อในประโยชน์ของการใช้ยาและขาดข้อมูลที่เกี่ยวกับการใช้ยา • Monira AA., Radhia B., John B., et al. Recommendations for Management of Diabetes During Ramadan. Diabetes Care. 2005 Sep; 28(9). 2305-2311.

  6. Table 3 - Recommended changes to treatment regiment in patients with type 2 diabetes who fast during Ramadan Diabetes Care, Vol. 28, No. 9, Sep 2005. Page 2310.

  7. วัตถุประสงค์ • เพื่อติดตามผลของการให้คำแนะนำการใช้ยาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือดช่วงการถือศีลอด • เพื่อติดตามอุบัติการณ์หรือปัจจัยอื่นๆ ที่เกิดจากการใช้ยาร่วมกันของกลุ่มเป้าหมาย • เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการเฝ้าระวังปัญหาจากการใช้ยาร่วมกันของกลุ่มเป้าหมาย

  8. กลุ่มตัวอย่าง • กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานมุสลิมที่มีภาวะแทรกซ้อนของโรคทางหัวใจและหลอดเลือด ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอกในเดือนรอมฎอน ปีงบประมาณ 2550

  9. กรอบแนวคิดการศึกษา การให้คำแนะนำการใช้ยาช่วงถือศีลอด การปรับวิธีการบริหารยา • แบบจำลองความเชื่อทางสุขภาพ • (Health Believe Model : HBM) • การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค • การรับรู้ความรุนแรงของการเป็นโรค • การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันและรักษา • การรับรู้อุปสรรค • แรงจูงใจด้านสุขภาพ • ปัจจัยร่วม COMPLIANCE FBS SBP DBP Wt

  10. Flow Chart การดำเนินงาน ผู้ป่วยเบาหวานมารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกตามนัด วิเคราะห์ข้อมูลด้วย SPSS และสรุปผล มาพบแพทย์ตามนัดสามครั้ง พยาบาลซักประวัติ ผู้ป่วยตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค้นข้อมูลในเวชระเบียน ติดตามผล FBS BP และระดับไขมันในเลือด สุ่มคัดเลือกเอาเฉพาะ HN ที่มาตามนัด 3 ครั้งติดต่อกัน ผู้ป่วยเข้ารับการตรวจโดยแพทย์ แพทย์ส่งข้องมูลมาให้ฝ่ายเภสัชกรรมเพื่อจัดยา บันทึก HN และข้อมูลทั่วไปใน Microsoft Access ทุกสัปดาห์ เภสัชกรจ่ายยาแก่ผู้ป่วยพร้อมให้คำแนะนำการใช้ยา เภสัชกรเก็บรวบรวมใบสั่งยาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด

  11. ตัวแปรที่ใช้วัดการดำเนินงานตัวแปรที่ใช้วัดการดำเนินงาน • ระดับน้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar ; FBS) • ระดับความดันโลหิตตัวบน (Systolic Blood Pressure ; SBP) • ระดับความดันโลหิตตัวล่าง (Diastolic Blood Pressure ; DBP) • น้ำหนักผู้ป่วย (Weight ; Wt)

  12. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา Microsoft Access Microsoft Excel SPSS PERSENT Mean ± S.D. Pair T-test

  13. ระยะเวลาในการดำเนินการระยะเวลาในการดำเนินการ ระหว่างเดือนเมษายน 2549 ถึง ธันวาคม 2549 วันคลินิกเบาหวาน(ทุกวันพุธ) ช่วงเวลา 08:30 – 16:00 น.

  14. ผังปฏิทินชุมชนสุไหงปาดีผังปฏิทินชุมชนสุไหงปาดี

  15. การดำเนินการ • ติดตามผู้ป่วยตามแพทย์นัดติดต่อกัน 3 ครั้ง คือ • ١-ก่อนเข้าเดือนรอมฎอน (ก่อนถือศีลอด) • ٢-ระหว่างเดือนรอมฎอน (ระหว่างการถือศีลอด) • ٣-สิ้นสุดเดือนรอมฎอน (เสร็จสิ้นการถือศีลอด) 67 ตัวอย่าง

  16. ปฏิทินสำหรับการดำเนินการเก็บข้อมูลการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานช่วงการถือศีลอดเดือนรอมฎอน ประจำ ฮ.ศ. 1428 สีม่วง*** วันคลินิกเบาหวานทั้ง 4 สัปดาห์ที่คาบเกี่ยวอยู่ในเดือนรอมฎอน

  17. ตัวชี้วัด จำนวนผู้ป่วยที่ สามารถควบคุมระดับ FBS ให้อยู่ในช่วง 80-130 mg/dl มีไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 30 *** ตัวชี้วัดจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านสาธารณสุขของจังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2550 ของโรงพยาบาล 12 แห่งในจังหวัดนราธิวาส

  18. วิเคราะห์สาเหตุ ผู้ป่วยและญาติ -ขาดความรู้ความเข้าใจที่ถุกต้อง -ความศรัทธาและความเชื่อ (HBM) เจ้าหน้าที่ ไม่ได้ให้คำแนะนำอย่างละเอียด ขาดทักษะเฉพาะด้าน การกินยาไม่ถูกวิธี ของผู้ป่วยเบาหวานใน เดือนถือศีลอด ระบบ ความเร่งรีบของระบบงาน ขาดการบูรณาการเชิงวิชาชีพ อื่นๆ หลักฐานวิชาการ (Journal) ที่สนับสนุนการปฏิบัติงานมีไม่มาก

  19. ผลการดำเนินงาน

  20. ผลการดำเนินงาน

  21. ผลการดำเนินงาน

  22. จำนวนผู้ป่วยแบ่งตามโซนตำบลจำนวนผู้ป่วยแบ่งตามโซนตำบล

  23. ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปร ในระยะ 3 ช่วงเวลา ที่เป็นผลมาจากการบริหารยาลดน้ำตาลในเลือดและยารักษาความดันโลหิตสูงของผู้ป่วย

  24. เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของตัวแปร ก่อนและหลังการให้คำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการกินยา ในช่วงเดือนการถือศีลอด

  25. ร้อยละ 30 ของผู้ป่วยที่สามารถควบคุม FBS อยู่ในช่วง 80 – 130 mg/dl

  26. สรุปผลการศึกษา (เชิงสถิติ) • กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด ได้รับการให้คำแนะนำวิธีการใช้ยาในช่วงการถือศีลอด จำนวน 67 คน • ค่า FBS ของผู้ป่วย ก่อนและหลังการให้คำแนะนำ มีความแตกต่างกัน โดยลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จาก 186.42 ± 84.19 mg/dl เป็น 155.79 ±61.62 mg/dl • ส่วนค่าอื่นๆ (SBP,DBP,WT) ไม่มีความแตกต่างกัน (p>0.05)

  27. สรุปผลการศึกษา (เชิงพัฒนาคุณภาพ) • ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับFBS ให้อยู่ในช่วง 80-130 mg/dl ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 - ช่วงระหว่างถือศีลอด (ช่วงให้คำแนะนำ) มีเพียง 16 คน คิดเป็นร้อยละ 23.88 - หลังการถือศีลอด (ติดตามผล) มีจำนวนเพิ่มขึ้นมาเป็น 26 คนคิดเป็นร้อยละ 38.81

  28. ข้อจำกัดของผลการศึกษาข้อจำกัดของผลการศึกษา Population Sample 67 คน N มีจำนวนน้อย

  29. ข้อจำกัดของผลการศึกษาข้อจำกัดของผลการศึกษา • ตัวแปรบางตัวควบคุมได้ไม่หมด - แบบแผนและพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วย - ระดับความสามารถในการรับรู้เรื่องโรคและยา - สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพ - สภาพทางสรีรวิทยาของผู้ป่วย - Compliance

  30. ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด)ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด) • Pre-Ramadan educational counseling - การดูแลตนเอง - การสังเกตอาการ Hyper/Hypoglycemia ด้วยตนเอง - การจัดการเรื่องการรับประทานอาหาร - การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ - การให้ความรู้เรื่องการใช้ยา

  31. ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด)ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด) • เพศหญิง • แม่บ้าน • อายุ >40 ปี • พื้นที่ (ต.ริโก๋ ต.ปะลุรู ต.สากอ) • โรคร่วม Hypertension Hyperlipidemia Dyspepsia Public Health Social Epidermiology Primary Care Unit Home Health Care

  32. ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด)ข้อเสนอแนะ(เพื่อการต่อยอด) • HOME HEALTH CARE • Drug Related Problems(DRP) Planning - Drug-DrugInteraction -Drug-Food Interaction - Adverse Drug Reactions

  33. จบการนำเสนอ

More Related