1 / 100

บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้

บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้. การบริหารลูกหนี้. ความสำคัญของการบริหารลูกหนี้

Download Presentation

บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5การบริหารลูกหนี้

  2. การบริหารลูกหนี้ ความสำคัญของการบริหารลูกหนี้ ลูกหนี้ (Account Receivable) เป็นสินทรัพย์หมุนเวียนชนิดหนึ่งในทางบัญชี โดยปกติลูกหนี้มันเกิดจากการจำหน่ายสินค้าหรือบริการเป็นเงินเชื่อ การบริหารลูกหนี้ช่วยทำให้ลดเวลาในการจัดเก็บหนี้ให้สั้นที่สุด เพราะถ้าเก็บเงินได้เร็วเท่าใด ทำให้ได้เงินมาหมุนเวียนทำประโยชน์เร็วขึ้น ทำให้เกิดหนี้สูญน้อยที่สุดหรือทำให้ไม่เกิดเลยเพื่อลดรายจ่ายในส่วนนี้

  3. การบริหารลูกหนี้ วัตถุประสงค์ในการขายเชื่อ 1. วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มยอดขาย 2. วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มผลกำไร ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการขายเชื่อ 1. เงินลงทุนในลูกหนี้ 2. ค่าใช้จ่ายในการเก็บหนี้ 3. ค่าใช้จ่ายในการติดตามหนี้ที่ชำระช้า 4. ค่าใช้จ่ายในหนี้สูญ

  4. การบริหารลูกหนี้ หลักการบริหารลูกหนี้ จากการพิจารณาลงทุนในลูกหนี้ ซึ่งจะเกิดประโยชน์ต่อธุรกิจตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ จะต้องมีวิธีการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องกำหนดหลักการในการบริหารลูกหนี้ไว้อย่างชัดเจนได้ดังนี้ 1. กำหนดนโยบายให้สินเชื่อ 2. การประเมินผลและวิเคราะห์ลูกหนี้ 3. กำหนดนโยบายในการจัดเก็บหนี้

  5. การกำหนดนโยบายสินเชื่อการกำหนดนโยบายสินเชื่อ หลักเกณฑ์ของการกำหนดนโยบายการให้สินเชื่อได้ดังนี้ 1. กำหนดมาตรฐานของลูกหนี้ (Credit Standards) 2. เงื่อนไขการให้สินเชื่อ (Credit terms) 3. ความเสี่ยงในหนี้สูญ (Default Risk)

  6. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ มาตรฐานลูกหนี้ n/60 n/30 ยอดขายจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง

  7. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ มาตรฐานลูกหนี้ n/60 n/30 เพิ่มขึ้น

  8. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ มาตรฐานลูกหนี้ n/20 n/30 ยอดขายจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง

  9. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ มาตรฐานลูกหนี้ n/60 n/30 ลดลง

  10. เงื่อนไขการให้สินเชื่อเงื่อนไขการให้สินเชื่อ เงื่อนไขสินเชื่อ 2/10, n/30 n/30 ลูกค้าจะมาชำระเร็วขึ้นไหม

  11. เงื่อนไขการให้สินเชื่อเงื่อนไขการให้สินเชื่อ เงื่อนไขสินเชื่อ 20/10, n/30 n/30 ลูกค้าจะมาชำระเร็วขึ้นกว่าเดิมไหม

  12. คำถาม การเปลี่ยนมาตรฐานลูกหนี้หรือเงื่อนไข กิจการจะเกิดประโยชน์เพิ่มขึ้นจากเดิม บ้างไหม ถ้าเกิดประโยชน์

  13. คำถาม การเปลี่ยนมาตรฐานลูกหนี้หรือเงื่อนไข กิจการจะเกิดประโยชน์เพิ่มขึ้นจากเดิม บ้างไหม เปลี่ยน

  14. คำถาม การเปลี่ยนมาตรฐานลูกหนี้หรือเงื่อนไข กิจการจะเกิดประโยชน์เพิ่มขึ้นจากเดิม บ้างไหม ประโยชน์ เช่น

  15. คำถาม การเปลี่ยนมาตรฐานลูกหนี้หรือเงื่อนไข กิจการจะเกิดประโยชน์เพิ่มขึ้นจากเดิม บ้างไหม ยอดขายเพิ่ม กำไรเพิ่ม จากการลดมาตรฐานลูกหนี้

  16. คำถาม การเปลี่ยนมาตรฐานลูกหนี้หรือเงื่อนไข กิจการจะเกิดประโยชน์เพิ่มขึ้นจากเดิม บ้างไหม n/60 n/30

  17. คำถาม การเปลี่ยนมาตรฐานลูกหนี้หรือเงื่อนไข กิจการจะเกิดประโยชน์เพิ่มขึ้นจากเดิม บ้างไหม และมีกำไรเพิ่มสูงขึ้น มากกว่า ที่ต้องนำเงินมาลงทุนในสินค้าที่ขาย

  18. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้จะช่วยลดความเสี่ยงในการไม่ได้รับชำระหนี้คืนได้ โดยดูจากปัจจัยที่กำหนดมาตรฐานเช่น ฐานะของลูกหนี้ หลักประกันของลูกหนี้ ขณะเดียวกันการกำหนดมาตรฐานที่มีผลกระทบต่อยอดขายน้อยอาจทำให้ยอดขายลด ในด้านตรงข้ามถ้าลดมาตรฐานของลูกหนี้ลง ทำให้ยอดขายเพิ่มสูงขึ้นและอาจเกิดหนี้สูญตามมาด้วย

  19. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานของลูกหนี้ บริษัทแห่งหนึ่งขายสินค้าราคาหน่วยละ 8 บาท กำหนดต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 5 บาท ต้นทุนคงที่รวม 15,000 บาท ยอดขายรวมปีละ 120,000 บาท บริษัทนี้ต้องการเพิ่มมาตรฐานลูกหนี้และคาดว่ายอดขายจะลดลง 1,000 หน่วย ระยะเวลาเรียกเก็บหนี้ลดลงจาก 2 เดือน เหลือ 1 เดือน ให้พิจารณาว่าจะเปลี่ยนแปลงมาตรฐานหรือไม่ (สมมติราคาขายและต้นทุนไม่เปลี่ยนแปลงและกำหนดอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน 20%)

  20. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานของลูกหนี้ การเปรียบเทียบ ระหว่างค่าการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นให้เลือกทางเลือกที่ให้ค่ามากกว่า ระหว่างค่าการเปลี่ยนแปลงที่ลดลงให้เลือกทางเลือกที่ลดลงน้อยกว่า

  21. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานของลูกหนี้ บริษัทแห่งหนึ่งขายสินค้าราคาหน่วยละ 8 บาท กำหนดต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 5 บาท ต้นทุนคงที่รวม 15,000 บาท ยอดขายรวมปีละ 120,000 บาท บริษัทนี้ต้องการเพิ่มมาตรฐานลูกหนี้และคาดว่ายอดขายจะลดลง 1,000 หน่วย ระยะเวลาเรียกเก็บหนี้ลดลงจาก 2 เดือน เหลือ 1 เดือน ให้พิจารณาว่าจะเปลี่ยนแปลงมาตรฐานหรือไม่ (สมมติราคาขายและต้นทุนไม่เปลี่ยนแปลงและกำหนดอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน 20%) P/น V/น F

  22. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานของลูกหนี้ วิธีคำนวณ ขั้นที่ 1 คำนวณหากำไรส่วนที่เพิ่ม กำไร/หน่วย = ราคาขาย/หน่วย - ราคาทุน/หน่วย = P/น - V/น กำไรที่ลดลงทั้งหมด = จำนวนหน่วยที่ลดลง X (P/น – V/น) = 1,000 (8 – 5) = 3,000 บาท

  23. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานของลูกหนี้ วิธีคำนวณ ขั้นที่ 2คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง ผลตอบแทนที่เปลี่ยนแปลง เท่ากับ ผลตอบแทนจากการลงทุน X เงินลงทุนที่เปลี่ยนแปลง

  24. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 120,000 บาท 360 (1ปี) ÷60 (2 เดือน) 6 ครั้งต่อปี

  25. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 120,000 บาท 20,000 บาท = 6 ครั้งต่อปี

  26. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 120,000 บาท 360 (1ปี) ÷30 (1 เดือน) 12 ครั้งต่อปี

  27. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 120,000 บาท 10,000 บาท = 12 ครั้งต่อปี

  28. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม ต้นทุนรวมต่อหน่วย = V/น + F/น V/น = 5 บาท F/น = 15,000 ÷ (120,000 ÷ 8) = 15,000 ÷ 15,000 = 1 บาท 20,000 X 6 8

  29. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม 20,000 X 6 15,000 บาท = 8

  30. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ ต้นทุนรวมต่อหน่วย = V/น + F/น V/น = 5 บาท F/น = 15,000 ÷ 14,000 = 1.07 บาท 10,000 X 6.07 8

  31. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ 10,000 X 6.07 7,587.50 บาท = 8

  32. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) เปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในลูกหนี้ลดลง = 15,000 – 7,587.50 = 7,412.50 บาท ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่ลดลง = 20% X 7,412.50 = 1,482.50 บาท

  33. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 3เปรียบเทียบกำไรที่ลดลง(ข้อ 1) กับผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่ลดลง (ข้อ 2) (1) กำไรลดลง = 3,000 บาท และ (2) เปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในลูกหนี้ลดลง = 15,000 – 7,587.50 = 7,412.50 บาท ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่ลดลง = 20% X 7,412.50 = 1,482.50 บาท

  34. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 3เปรียบเทียบกำไรที่ลดลง(ข้อ 1) กับผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่ลดลง (ข้อ 2) (1) กำไรลดลง = 3,000 บาท และ (2) ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่ลดลง = 20% X 7,412.50 = 1,482.50 บาท  จากการคำนวณจะเห็นได้ว่าผลตอบแทนจากการลงทุนลดลงน้อยกว่ากำไร แสดงว่ากิจการยังทำกำไรได้อยู่มาก สรุปได้ว่าควรใช้นโยบายใหม่คือเพิ่มมาตรฐานของลูกหนี้

  35. ตัวอย่างท้ายบทที่ 5 ข้อ 9 หน้า 217

  36. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานของลูกหนี้ วิธีคำนวณ ขั้นที่ 1 คำนวณหากำไรส่วนที่เพิ่ม กำไร/หน่วย = ราคาขาย/หน่วย - ราคาทุน/หน่วย = P/น - V/น กำไรที่เพิ่มขึ้นทั้งหมด = จำนวนหน่วยที่เพิ่มขึ้น X (P/น – V/น) = 1,000 (40 – 16) = 24,000 บาท 10% @10,000

  37. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานของลูกหนี้ วิธีคำนวณ ขั้นที่ 2คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง ผลตอบแทนที่เปลี่ยนแปลง เท่ากับ ผลตอบแทนจากการลงทุน X เงินลงทุนที่เปลี่ยนแปลง

  38. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 10,000 หน่วย @ 40 บาทต่อหน่วย 400,000 บาท 8 ครั้งต่อปี 360 (1ปี) ÷45

  39. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 400,000 บาท 50,000 บาท = 8 ครั้งต่อปี

  40. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 400,000 บาท 360 (1ปี) ÷60 6 ครั้งต่อปี

  41. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 400,000 บาท 66,666.67 บาท = 6 ครั้งต่อปี

  42. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม ต้นทุนรวมต่อหน่วย = V/น + F/น V/น = 16 บาท F/น = 120,000 ÷ 10,000 = 12 บาท 50,000 X 28 40

  43. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม 50,000 X 28 35,000 บาท = 40

  44. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ ต้นทุนรวมต่อหน่วย = V/น + F/น V/น = 16 บาท F/น = 120,000 ÷ 11,000 = 10.91 บาท 66,666.67 X 26.91 40

  45. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ 66,666.67 X 26.91 44,850 บาท = 40

  46. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 2 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) เปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในลูกหนี้เพิ่มขึ้น = 44,850 – 35,000.00 = 9,850 บาท ผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น = 20% X 9,850 = 1,970 บาท

  47. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 3เปรียบเทียบกำไรที่เพิ่มขึ้น(ข้อ 1) กับผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น (ข้อ 2) (1) กำไรเพิ่มขึ้น = 24,000 บาท และ (2) เปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในลูกหนี้เพิ่มขึ้น = 44,850 – 35,000 = 9,850 บาท ผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น = 20% X 9,850 = 1,970 บาท

  48. การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้การกำหนดมาตรฐานลูกหนี้ ขั้นที่ 3เปรียบเทียบกำไรที่เพิ่มขึ้น(ข้อ 1) กับผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น (ข้อ 2)  (1) กำไรเพิ่มขึ้น = 24,000 บาท และ (2) ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น = 20% X 9,850 = 1,970 บาท จากการคำนวณจะเห็นได้ว่าผลตอบแทนจากการลงทุนเพิ่มขึ้นน้อยกว่ากำไร แสดงว่ากิจการทำกำไรได้มากขึ้น สรุปได้ว่าควรใช้นโยบายใหม่คือลดมาตรฐานของลูกหนี้

  49. เปรียบเทียบกำไรกับผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่เปรียบเทียบกำไรกับผลตอบแทนจากเงินลงทุนที่ • กำไรเพิ่ม ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่เพิ่ม • 20 15 เปลี่ยน  (2) กำไรเพิ่ม ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่เพิ่ม 12 15  ไม่เปลี่ยน (3) กำไรลด ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่ลด 20 15 เปลี่ยน  (4) กำไรลด ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่ลด 12 15 ไม่เปลี่ยน 

  50. บทที่ 5การบริหารลูกหนี้

More Related