1 / 32

CAMELS Analysis วิเคราะห์ทางการเงินของสหกรณ์

CAMELS Analysis วิเคราะห์ทางการเงินของสหกรณ์. Camels Analysis คืออะไร ?.

Download Presentation

CAMELS Analysis วิเคราะห์ทางการเงินของสหกรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CAMELS Analysis วิเคราะห์ทางการเงินของสหกรณ์

  2. Camels Analysis คืออะไร ? • เครื่องมือวิเคราะห์ทางการเงิน ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทางในการตรวจสอบความมั่นคงทางการเงินของผู้กำกับดูแลสถาบันการเงิน และเป็นเครื่องมือในการเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system) เพื่อวัดระดับความเข้มแข็งขององค์กร

  3. Camels คืออะไร ? • เครื่องมือชี้วัดทางการเงิน • เครื่องมือเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system) • เครื่องมือชี้แนะแนวทางทางการเงินที่ชัดเจนแต่ละด้าน • เครื่องมือวัดระดับความเข้มแข็งขององค์กร

  4. ทำไมถึงCamels • ในอักษร C A M E L S สามารถถ่ายทอด • ความหมายทางการเงินได้อย่างตรงประเด็น • กระตุ้นให้เกิดการวิเคราะห์ครอบคลุมการเปลี่ยนแปลง • ในอนาคต • เข้าใจและง่ายต่อการใช้ • สามารถเป็นสัญญาณเตือนภัยทางการเงินล่วงหน้า • สามารถชี้ให้เห็นถึงความอ่อนไหวต่อการต้านทาน • ผลกระทบที่มีมาสู่การดำเนินงานของสหกรณ์

  5. Camels ประโยชน์อะไร ? • ใช้เป็นแนวทางตรวจสอบความเข้มแข็ง/มั่นคงขององค์กร • เตือนภัยทางการเงินล่วงหน้า • วิเคราะห์ปัจจุบันสะท้อนถึงอนาคตได้ • เป็นเครื่องมือช่วยในการกำกับ ดูแล • เป็นเครื่องมือสำหรับการวางแผนธุรกิจสหกรณ์ • ช่วยในการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ

  6. History Concept Analyze Result Report C A M E L S เป็นคำย่อมาจาก วัตถุประสงค์ มิติการวิเคราะห์แต่ละด้านจะมีวัตถุประสงค์รองรับ……………………… C : Capital strength ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง/ความเข้มแข็งของเงินทุน A: Asset quality คุณภาพของสินทรัพย์ M : Management ability ความสามารถของคณะกรรมการ/ ฝ่ายจัดการ E : Earning sufficiency ความสามารถในการทำกำไร ความเพียงพอของสภาพคล่องต่อความต้องการใช้เงิน L : Liquidity S : Sensitivity ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภายนอก ที่จะเกิดขึ้นต่องบการเงิน

  7. ในปัจจุบัน มิติการวิเคราะห์ในระบบของ CAMELs ประกอบไปด้วย 6 ด้านหลัก เพื่อให้ครอบคลุมการเกิดการเปลี่ยนแปลงในอนาคต และเป็นเครื่องมือในการเตือนภัยล่วงหน้า (early warning system) Rating Component การพิจารณาด้านที่จะนำมาวิเคราะห์ Capital Asset การเงิน การบริหาร ความเสี่ยง Management C E A L M S จัดกลุ่มใหม่ Earning Liquidity ปัจจุบัน อนาคต Sensitivity CAMELS

  8. ประเด็นที่วิเคราะห์ในเรื่องทุนประเด็นที่วิเคราะห์ในเรื่องทุน ในบริษัทและสถาบันการเงินเอกชนทั่วไป ความสำคัญของเงินทุนเป็นเกาะป้องกันการผันผวนของการดำเนินงานได้ และยังเป็นที่มาของเงินทุนที่มีต้นทุนต่ำ แต่ในระบบสหกรณ์ ทุนเรือนหุ้นยังสามารถไถ่ถอนได้นอกจากนั้น มีการจ่ายเงินปันสูงเป็นประเพณีปฏิบัติโดยอาศัยการกู้ยืมเงินภายนอก งบดุล งบกำไรขาดทุน สินทรัพย์ = กำไร การขาดทุน จะกัดกร่อนทุน หนี้สิน ภาระที่ต้องคืน แนวมีการดำเนินงาน จากกำไรไปขาดทุน หนี้สิน + ทุน หนี้สิน ทุนเรือนหุ้น ไถ่ถอนคืน ทุน - ทุน ภาวะปกติ ภาวะอ่อนแอ อาจเกิดภาวะ เงินออมวิ่งออก (deposit and shares run) ภาวะล้มละลาย หนี้สิน>สินทรัพย์ ประเด็นที่ควรวิเคราะห์ 1. ความเพียงพอและความเข็มแข็งของทุน 2. การก่อหนี้ ขาดทุน

  9. ความเพียงพอและความเข็มแข็งของทุนความเพียงพอและความเข็มแข็งของทุน ความเข็มแข็งขององค์กรสามารถวัดได้จากการมีทุนสถาบันเพียงพอกับความเสี่ยงต่างๆได้ ทุนสถาบันควรมีลักษณะที่ไม่สามารถถอนได้และไม่ผูกพันที่จ่ายผลตอบแทน ความเข็มแข็ง ขององค์กร • ความผันผวน • ทางด้านธุรกิจ • การกู้ยืมเงินมากไป • หนี้สูญ (ความเสี่ยง • ด้านเครดิต) • การลงทุนที่มี • ผลตอบแทนต่ำ • ระยะยาว หรือมี • ผลตอบแทนที่ผัน • ผวน (ความเสี่ยงด้าน • ตลาดการเงิน) • ทุนที่มีอยู่ติดองค์กร • ตลอด • ทุนที่ไม่ผูกพันที่จ่าย • ผลตอบแทน ความเสี่ยง ทุนสถาบัน

  10. วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สินทรัพย์วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สินทรัพย์ วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สินทรัพย์ คือ การวิเคราะห์ถึงคุณภาพของสินทรัพย์ต่างๆ โดยมุ่งไปที่สินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้และผลกระทบต่อฐานะการเงินของสหกรณ์ ความเพียงพอของสำรองต่อการด้อยคุณภาพของสินทรัพย์เพื่อป้องกันผลกระทบที่ต่อฐานะการเงินของสหกรณ์ และแหล่งที่มาของเงินทุนเพื่อมาลงทุนในสินทรัพย์เหล่านี้ สินทรัพย์ สินทรัพย์ ไม่สร้าง กำไร เกินความต้องการ สินทรัพย์ หมุนเวียน กำไร ไม่มีคุณภาพ เงินกู้และ เงินลงทุน สินทรัพย์ถาวร ไม่มีประสิทธิภาพ แหล่ง เงินทุน

  11. วัตถุประสงค์ของวิเคราะห์กำไรวัตถุประสงค์ของวิเคราะห์กำไร วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์กำไร คือ การวิเคราะห์ความยั่งยืนขององค์กรที่จะสามารถแข่งขัน ระดมเงินทุนได้ ปรับตัวตามภาวะที่เปลี่ยนแปลงไป และไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่เลวร้าย กฎระเบียบและนโยบายรัฐ การเปลี่ยน แปลงทาง สภาวะทาง สังคมและประชากร ศาสตร์ ภาวะแข่งขัน ภาวะเศรษฐกิจ

  12. วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สภาพคล่องวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สภาพคล่อง วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สภาพคล่อง คือ การพิจารณาว่า องค์กรจะมีแหล่งที่มาของกระแสเงินสดเพียงพอกับภาระผูกพันทางการเงิน (financial obligation) ที่จะถึงกำหนด หรือไม่ ภาระผูกพัน ทางการเงิน (financial obligation แหล่งที่มาของ สภาพคล่อง

  13. การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจสหกรณ์ใช้แบบจำลอง CAMELS สหกรณ์ พึ่งตนเองได้ วัตถุประสงค์ : เพื่อประเมินความเข้มแข็ง/มั่นคงทางการเงิน บริหารจัดการ M เงินทุน ทำกำไร • โครงสร้างธุรกิจ • กำลังคน • การปฏิบัติ/บริหาร C E • ความพร้อมของทุน • ความเพียงพอ • ไม่เสี่ยง • ผลตอบแทน • บริหารค่าใช้จ่าย • มีประสิทธิภาพ • เน้นสมาชิกไม่เน้น • กำไร ภาวะเศรษฐกิจ CAMELS Model คุณภาพสินทรัพย์ A สภาพคล่อง L • มองการลงทุนคุ้มค่า • สินทรัพย์สร้างรายได้ • การกระจุกตัวของสินทรัพย์ • ผลตอบแทน • ความสมดุล • การหมุนเวียนดี • หลักทรัพย์สภาพคล่อง • ความเพียงพอของ • สินทรัพย์แปลงเป็นเงินสด ผลกระทบธุรกิจ S • ปัจจัยเสี่ยงภายใน • ปัจจัยเสี่ยงภายนอก ข้อจำกัด เป็นการวัดในภาพรวม ณ จุดของเวลา ภายใต้กรอบที่กำหนด ข้อเสนอแนะควรประเมินอย่างต่อเนื่อง เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยมาตรฐาน (Peer group)

  14. มุมมองทางการเงิน 6 มิติ Sensitivity Capital Strength CAMELS ANALYSIS 6 1 Liquidity 5 2 Asset Quality Earning Sufficiency 4 3 Management Ability

  15. CAMELS วิเคราะห์สหกรณ์ ในมุมมอง 6 มิติ

  16. มิติที่ 1 C : ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง/ ความเข้มแข็งของเงินทุน 1 เงินทุนดำเนินงาน …............บาท ผลตอบแทนต่อส่วนของทุน ……% 2 แหล่งเงินทุน 3 สัดส่วนหนี้สินทั้งสิ้นต่อทุน ของสหกรณ์ .....เท่า • ภายในสหกรณ์ ..........…บาท........% • - เงินรับฝากสมาชิก ..........…บาท........% • - ทุนของสหกรณ์ ..........…บาท........% • - อื่นๆ ..........…บาท........% • ภายนอกสหกรณ์ ..........…บาท........% • - เงินกู้ยืม/เครดิตการค้า ......…บาท........% • - เงินรับฝากสหกรณ์และอื่นๆ..…บาท........% • ทุนสำรองต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น ….. เท่า • หนี้สินทั้งสิ้น ................บาท • ทุนของสหกรณ์ ................บาท การเติบโตทุนของสหกรณ์ ....% การเติบโตของหนี้สิน ....%

  17. มิติที่ 2 A : คุณภาพของสินทรัพย์ 4 สินทรัพย์ …….............…บาท ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ...…% 5 การลงทุนในสินทรัพย์ 6 อัตราหมุนของสินทรัพย์ …..รอบ • เงินสด/เงินฝากธนาคาร/สก........บาท........% • ลูกหนี้ ...........บาท........% (ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) (............)บาท........% • ที่ดิน/อาคาร/อุปกรณ์ ..........บาท........% • หลักทรัพย์/ตราสาร ...........บาท........% • สินค้าและอื่น ๆ ...........บาท........% • NPL/หนี้ชำระไม่ได้ตามกำหนด...............บาท • หรืออัตราการค้างชำระหนี้ ..............% ขาย/บริการ .................บาท (รายได้ธุรกิจหลัก) การเติบโตของสินทรัพย์ ....%

  18. มิติที่ 3 M :ขีดความสามารถในการบริหาร การบริหารจัดการ ขีดความสามารถ/ สมรรถนะของคณะ กรรมการและฝ่าย จัดการ 7 โครงสร้างธุรกิจ 8 การบริหารงานและ การควบคุมภายใน • จำนวนสมาชิก ….คน • ขนาดสหกรณ์ ….. • ธุรกิจสหกรณ์ • รับฝากเงิน .........บาท........% • ให้กู้เงิน .........บาท........% • จัดหาสินค้า.........บาท........% • รวบรวมผลิตผล.....บาท........% • ให้บริการ • มูลค่าธุรกิจรวม ........บาท/ปี • .....บาท/เดือน • การเติบโตของธุรกิจ … % - การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มี/ไม่มี - จัดหาผู้ปฎิบัติงานที่มีความรู้ความ สามารถเหมาะสมกับงาน มี/ไม่มี - การแบ่งส่วนงานและการกำหนด หน้าที่ความรับผิดชอบ มี /ไม่มี - การจัดทำบัญชีและเอกสารหลักฐานมี/ไม่มี - การตรวจสอบกิจการ มี /ไม่มี - การทำแผนและงบประมาณ มี /ไม่มี - การติดตามประเมินผล มี /ไม่มี - ชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับ .... *จัดทำงบการเงินได้/ไม่ได้ ..... *จัดจ้าง/ไม่จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี ..... 9 แนวโน้มปีหน้า - สมาชิกเพิ่ม(ลด) …% - ทุนเพิ่ม(ลด) …% - ธุรกิจเพิ่ม(ลด) …% - กำไรเพิ่ม(ลด) ....%

  19. มิติที่ 4 E :การทำกำไร ความสามารถในการทำกำไร 10 อัตรากำไรสุทธิ ....% 11 กำไร(ขาดทุน)..บาท/ล้านบาท 12 อัตราเฉลี่ยต่อสมาชิก • รายได้ ...............บาท 100 % • รายได้ธุรกิจ ................บาท/........% • รายได้เฉพาะธุรกิจ ................บาท/........% • รายได้อื่น ...............บาท/........% • ค่าใช้จ่าย • ต้นทุนธุรกิจ ..............บาท/........% • ค่าใช้จ่ายเฉพาะธุรกิจ..............บาท/........% • ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ..............บาท/........% • อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร • ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน.... % • รายได้ต่อสมาชิก ..บาท/คน • ค่าใช้จ่ายต่อสมาชิก .. บาท/คน • กำไรต่อสมาชิก .. บาท/คน • เงินออมต่อสมาชิก..บาท/คน • หนี้สินต่อสมาชิก ..บาท/คน • การเติบโตของกำไร ..% • การเติบโตของทุนสำรอง ..% • การเติบโตของทุนสะสมอื่น ..%

  20. มิติที่ 5 L :สภาพคล่อง 13 สภาพคล่อง ทางการเงิน อัตราส่วนทุนหมุนเวียน ……..เท่า 16 ระยะเวลา 14 ร้อยละของสินทรัพย์ หมุนเวียน 15 ร้อยละของหนี้สิน หมุนเวียน อายุเฉลี่ยของสินค้า ..วัน • เงินสด ......% • เงินฝากธนาคาร/สหกรณ์ .......% • หลักทรัพย์/ตราสาร/หุ้น ........% • สินค้า .......% • สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ.......% • อัตราลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระหนี้ได้ตาม • กำหนดต่อหนี้ถึงกำหนดชำระ ...% • - เจ้าหนี้เงินกู้ระยะสั้น ......% • - เจ้าหนี้การค้า ......% • เงินรับฝา ......% • เงินค้างจ่ายและอื่นๆ......%

  21. มิติที่ 6 S: ผลกระทบของธุรกิจ 17 ความเสี่ยง ผลกระทบของธุรกิจ • ปัจจัยเสี่ยง • ภาวะคู่แข่งทางธุรกิจ • อัตราดอกเบี้ย/ราคาสินค้า • นโยบายการเงินของรัฐ • นโยบายช่วยเหลือของภาครัฐ • ระเบียบ ข้อบังคับ พรบ.ที่เกี่ยวข้อง • สภาพตลาด/เทคโนโลยี/วิทยาการใหม่ๆ • ภัยธรรมชาติ • ฯลฯ

  22. สหกรณ์.. สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน ปี 25...  ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง (Capital Strength) • ทุนภายใน.............…% • ทุนภายนอก……..…%  คุณภาพของสินทรัพย์ (Asset Quality) • ลูกหนี้ผิดนัดค้างชำระ .....%  ความสามารถในการบริหารจัดการ (Management Ability) • ธุรกิจรับฝากเงิน ……………% • ธุรกิจกู้ยืม ……………% • ธุรกิจจัดหาสินค้า……………% • ธุรกิจรวบรวมผลผลิต. …………% • ธุรกิจบริการ/อื่นๆ ……………% ธุรกิจกว่า.....................บาทต่อปี หรือ ......................บาทต่อเดือน สภาพคล่องทางการเงิน (Liquidity) • อัตราหมุนของสินทรัพย์ ...........รอบ • อัตราเงินทุนหมุนเวียน ........... เท่า • หนี้สินภายนอกต่อทุนสหกรณ์ ...... เท่า • ลูกหนี้ชำระหนี้ได้ตามกำหนด .........%  ความสามารถในการทำกำไร (Earning Sufficiency) • สหกรณ์ดำเนินธุรกิจมีกำไร/ขาดทุน • รายได้เฉลี่ย .............. บาทต่อคน • ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย.............บาทต่อคน

  23. มาตรฐานการเงิน ปัจจุบัน อนาคต Peer Group Best practice Benchmark • ข้อปฏิบัติที่ดี • การบริหารจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ • การเปรียบเทียบตำแหน่ง • ตามปัจจัย (ประเภท ขนาด เวลา และสถานการณ์เดียวกัน) เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ • และแข่งขันได้ • การเปรียบเทียบ • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

  24. Peer Group : ตำแหน่งในการเทียบเคียงกับอัตราส่วนเฉลี่ย การบริหาร การเงิน ระดับสูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับเท่ากับค่าเฉลี่ย เพิ่มประสิทธิภาพของ องค์กร ระดับต่ำกว่าค่าเฉลี่ย

  25. สัญญาณอัตราส่วน 3 ตัวจากCFSAWSเป็นส่วนหนึ่งในมิติCAMELS ทุนสำรองต่อ สินทรัพย์ทั้งสิ้น ลูกหนี้ที่ชำระได้ตาม กำหนดต่อลูกหนี้ถึงกำหนดชำระ 6 1 Sensitivity Capital Strength Liquidity Asset Quality 2 5 ค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน Earning Sufficiency Management Ability 4 3

  26. History Concept Analyze Result Report กรณีตัวอย่างวิเคราะห์ ผล CFSAWS ทุนสำรองต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น ค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระหนี้ได้ ตามกำหนดต่อลูกหนี้ถึงกำหนดชำระ

  27. มิติที่ 1 ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง/ความเข้มแข็งของเงินทุน CFSAWS(ค่า 0.10-0.20 เท่า) เงินทุนดำเนินงาน 7.91 ล้านบาท ผลตอบแทนต่อส่วนทุน 0 % แหล่งเงินทุน สัดส่วนหนี้สินทั้งสิ้นต่อทุน 6.32 เท่า • ภายในสหกรณ์ 1.94 ลบ 25 % • - เงินรับฝากสมาชิก 0.45 ลบ. 6 % • - ทุนของสหกรณ์ 1.08 ลบ. 14 % • - อื่น ๆ 0.41 ลบ. 5 % • ภายนอกสหกรณ์ 5.97 ลบ. 75 % • - เงินกู้ยืม/เครดิตการค้า 0.21 ลบ. 2 % • - เงินรับฝากสหกรณ์ 5.76 ลบ. 73 % • ทุนสำรองต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น 0.00 เท่า • หนี้สินทั้งสิ้น 6.83 ลบ. • ทุนของสหกรณ์ 1.08ลบ. ทุนของสหกรณ์ลดลง 54 % หนี้สินลดลง 0.7 %

  28. มิติที่ 2 คุณภาพของสินทรัพย์ สินทรัพย์ 7.91ล้านบาท ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ 0% การลงทุนในสินทรัพย์ อัตราหมุนของสินทรัพย์ 0.87 รอบ • เงินสด/เงินฝากธนาคาร/สก.0.63ลบ. 8 % • ลูกหนี้ 7.51 ลบ. 95 % (ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) (1.93) ลบ. (24) % • ที่ดิน/อาคาร/อุปกรณ์ 0.19ลบ. 2 % • ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมค้างรับ 1.19 ลบ. 15 % • หลักทรัพย์/ตราสาร 0.21ลบ. 3 % • สินทรัพย์อื่น 0.11 ลบ. 1% อัตราการค้างชำระหนี้ 91 % รายได้ธุรกิจหลัก 7.46 ล้านบาท สินทรัพย์ลดลง 14 %

  29. มิติที่ 3 ขีดความสามารถในการบริหาร การบริหารจัดการ ขีดความสามารถ/ สมรรถนะของคณะ กรรมการและฝ่าย จัดการ โครงสร้างธุรกิจ • จำนวนสมาชิก 983 คน • ขนาด ใหญ่ • ธุรกิจสหกรณ์ • รับฝากเงิน 0.86 ลบ. 11 % • ให้กู้เงิน 0.30 ลบ. 4 % • จัดหาสินค้า 6.71 ลบ. 85 % • รวบรวมผลิตผล 0 ลบ. 0 % • ให้บริการ 0 ลบ. 0 % • มูลค่ารวม7.87ลบ./ปี • 0.65 ลบ./เดือน • ธุรกิจลดลง 50 % การบริหารงานและ การควบคุมภายใน • ชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน • ระดับควรปรับปรุง

  30. มิติที่ 4 การทำกำไร CFSAWS(ค่า 45.00-65.00%) ความสามารถในการทำกำไร อัตรากำไรสุทธิ 0 % ขาดทุน 1.28ล้านบาท อัตราเฉลี่ยต่อสมาชิก • รายได้ 7.75ลบ. 100 % • รายได้ธุรกิจ 7.64 ลบ. 99 % • รายได้อื่น 0.11 ลบ. 1 % • ค่าใช้จ่าย 9.03 ลบ. 116 % • ต้นทุนธุรกิจ 8.63 ลบ. 111 % • ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 0.40 ลบ. 5 % • อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร • ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน>100% • รายได้ต่อสมาชิก 7,884 บาท/คน • ค่าใช้จ่ายต่อสมาชิก 9,186 บาท/คน • เงินออมต่อสมาชิก 3,766 บาท/คน • หนี้สินต่อสมาชิก 7,426บาท/คน ขาดทุนลดลง 14 %

  31. CFSAWS(ค่า 60.00-90.00%) มิติที่ 5 สภาพคล่อง สภาพคล่อง ทางการเงิน อัตราส่วนทุนหมุนเวียน 0.99 เท่า ร้อยละของสินทรัพย์ หมุนเวียน (6.39 ลบ) อายุสินค้า เฉลี่ย 5 วัน ร้อยละของหนี้สิน หมุนเวียน (6.44 ลบ) • เงินสด 0.5 % • เงินฝากธนาคาร/สหกรณ์ 9 % • ลูกหนี้ระยะสั้น 71 % • ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ 19 % • สินค้าและหมุนเวียนอื่น 1 % ลูกหนี้ระยะสั้นชำระหนี้ได้ตาม กำหนด 9 % • เจ้าหนี้เงินกู้ระยะสั้น 3 % • เจ้าหนี้การค้า 0 % • - เงินรับฝาก 96 % • หนี้สินหมุนเวียนอื่น 0.3 %

  32. สรุปภาพรวมผลการดำเนินงานสหกรณ์สรุปภาพรวมผลการดำเนินงานสหกรณ์ ตัวอย่าง 2. สก.......???............................ ขาดทุนสุทธิ 1.28 ล้านบาท  ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง (Capital Strength) • ทุนภายใน 25 % • ทุนภายนอก 75 %  คุณภาพของสินทรัพย์ (Asset Quality) • ลูกหนี้สงสัยจะสูญ 24 % • ลูกหนี้ผิดนัดสัญญา 91 %  ความสามารถในการบริหารจัดการ (Management Ability) • ธุรกิจรับฝากเงิน 11% • ธุรกิจกู้ยืม 4% • ธุรกิจจัดหาสินค้า 85% • ธุรกิจรวบรวมผลผลิต 0% • ธุรกิจบริการ/อื่นๆ 0% ธุรกิจกว่า 7 ล้านบาทต่อปี หรือกว่า 5 แสนบาทต่อเดือน สภาพคล่องทางการเงิน (Liquidity) • อัตราหมุนของสินทรัพย์ 0.87รอบ • อัตราเงินทุนหมุนเวียน 0.99 เท่า • หนี้สินภายนอกต่อทุนสหกรณ์ 6 เท่า • ลูกหนี้ชำระได้ตามกำหนด 9 %  ความสามารถในการทำกำไร (Earning Sufficiency) • สหกรณ์ดำเนินธุรกิจมีผลขาดทุน (ค่าใช้จ่ายสูงกว่ารายได้ 1.16 เท่า) • รายได้เฉลี่ย 7,884 บาทต่อคน • ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 9,186 บาทต่อคน

More Related