290 likes | 520 Views
Concepts เทคนิคการสอน “ เงินทอง ของมีค่า ”. กรุณา อักษราวุธ พฤษภาคม 2004. Concepts เริ่มแรก. กระทรวงศึกษาธิการขอให้ออกแบบเป็นแต่ละ ช่วงชั้น ครูจะเลือกไปใช้เองได้ตามที่เห็นเหมาะสม แยกเล่มเป็น คู่มือครู และ หนังสือเรียนของเด็ก
E N D
Concepts เทคนิคการสอน“เงินทอง ของมีค่า” กรุณา อักษราวุธ พฤษภาคม 2004
Concepts เริ่มแรก • กระทรวงศึกษาธิการขอให้ออกแบบเป็นแต่ละช่วงชั้น ครูจะเลือกไปใช้เองได้ตามที่เห็นเหมาะสม • แยกเล่มเป็นคู่มือครูและหนังสือเรียนของเด็ก • อยากให้เด็กทุกคนมีหนังสือของตัวเอง เพื่อบันทึกและใช้งานสะดวก • เตรียมกิจกรรม คำแนะนำ แบบฝึกหัดและคำเฉลยไว้ให้ในคู่มือครู • ต้องรวมเล่มคู่มือครูและเด็กเข้าด้วยกัน เพราะกระทรวงศึกษาธิการมีงบประมาณในการจัดพิมพ์ไม่พอ แต่ได้ใช้ตัวอักษรสีเข้าช่วยตอนคำแนะนำสำหรับครู …..
Concepts เริ่มแรก • สารบัญทำไว้ละเอียด เพื่อให้ค้นหาเรื่องที่ต้องการได้โดยเร็ว และเป็น navigating map ในการเห็นโครงสร้างของหนังสือโดยรวม • ภาคผนวก • ศัพท์น่ารู้ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) • หน่วยงานสำคัญต่าง ๆ (ที่อยู่ โทรศัพท์ website)
ConceptsApplied Economics • ความเข้าใจด้านการเงิน • ความสามารถทางการเงิน • ความรับผิดชอบทางการเงิน • การบริหารและจัดการการเงิน
ความเข้าใจด้านการเงินความเข้าใจด้านการเงิน • บทบาทและหน้าที่ของเงินในระบบเศรษฐกิจ • รู้จักและเข้าใจทางเลือกต่าง ๆ • เงินสด • บัตรเครดิต • บัตรเดบิต • สินเชื่อ ฯลฯ
ความสามารถด้านการเงินความสามารถด้านการเงิน • รอบรู้ • เฉลียวฉลาด • แก้ปัญหาได้ • รู้จักลำดับความสำคัญของทางเลือกต่าง ๆ • สามารถตัดสินใจ บริหารการเงินในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ความรับผิดชอบทางการเงินความรับผิดชอบทางการเงิน • รับผิดชอบต่อการใช้จ่าย • บริหารทรัพยากรที่มีจำกัดอย่างเหมาะสม คุ้มค่า มีจริยธรรม • รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ • เข้าใจผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
การบริหารและจัดการการเงินการบริหารและจัดการการเงิน • รู้จักจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม • วิเคราะห์ • กลั่นกรอง • เปรียบเทียบ • เข้าใจผลกระทบ ผลตอบแทนของทุกทางเลือก • เหมาะสมกับ • สถานการณ์พื้นฐาน • สถานะของแต่ละบุคคล • ในแต่ละโอกาส • การใช้จ่าย • การออม • การลงทุน
เป็นเด็กเป็นเล็ก ไม่เห็นต้องรู้เรื่องเช็ค บัตรเครดิต อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศเลย
เด็กต่างจังหวัด แค่เงินจะใช้สำหรับอาหารกลางวันยังไม่มีพอเลย จะไปรู้เรื่องการเงินมากมายอะไรนักหนา
เงินเป็นของเรา เราควรมีสิทธิ ใช้ทำอะไรก็ได้ตามที่เราพอใจ • ไม่ชอบการควบคุม รู้สึกต่อต้านการทำแผนการใช้จ่ายเงิน เพราะเป็นการจำกัดความคิด ทำให้ไม่มีอิสรภาพในการจับจ่ายใช้สอย พ่อบ้านบางคนคิดแบบนี้ ใช้จ่ายผิดพลาด ทำให้ครอบครัวเดือดร้อนด้วย
วิธีการทางการเงินใหม่ ๆ • ATM • Tele banking • E-commerce • E-auction • Bar code replenishment • เช็ค บัตรเครคิต บัตรเดบิต บัตรเติมเงิน บัตรสมาชิกร้านค้า traveler check
วิถีชีวิตใหม่ ๆ • ซื้อของกินของใช้เข้าบ้านอาทิตย์ละครั้ง • เลือกหยิบเองจาก supermarket ใหญ่ ๆ
ทางเลือกของชีวิต • การศึกษา การเลือกอาชีพ • แหล่งกู้เงิน • บ้าน : ซื้อหรือเช่าต้องพิจารณาอะไรบ้าง • รถ : ราคา ค่าบำรุงรักษา ค่าใช้จ่ายประจำ ราคาขายต่อ • การบริหารการเงิน: การออม การลงทุน • เตรียมการสำหรับชีวิตหลังเกษียณ
ความไม่รู้ จำกัดทางเลือกในชีวิต ถูกกีดกันจากโลกการเงิน • เสียประโยชน์ • เสียโอกาส • แม่บ้าน สามีตาย พิการ หย่า มีทางเลือกอะไรสำหรับเลี้ยงดูครอบครัว • คนฉลาดใช้บัตรเครดิตอย่างมีวินัย ไม่ต้องจ่ายเงินสด หมุนเงินไปสร้างรายได้เป็นดอกเบี้ย • สะสมแต้มแลกของขวัญ มีโอกาสสร้างความมั่งคั่งมากกว่าคนต้องจ่ายเงินสดซื้อของ • เงินออมซึ่งบริหารไม่เป็น ถูกอัตราเงินเฟ้อลดค่าลงทุกวัน • ครอบครัวที่มีสถานะทางสังคมต่ำ เด็ก ๆ ไม่มีโอกาสเรียนรู้เรื่องการเงิน ถูกกีดกันจากทาง • เลือกต่าง ๆ ทางการเงิน ไม่มีโอกาสหลุดพ้นจากวงจร “ด้อยกว่า” ทางสังคม
ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • เก่งคณิตศาสตร์และคำนวณ • ฝึกให้หัดคิด วิเคราะห์และหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่าง • เป็นระบบ (systematic) • มีเหตุผล (logical) • มีข้อสรุปที่สามารถเอาชนะปัญหาได้ …..
ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • หลากหลายปัญหาเพื่อสร้างเสริม ประสบการณ์ชีวิต เพิ่มพูนความรู้ และมุมมองใหม่ ๆ ให้กว้างขวาง • ฝึกให้เด็กกล้าคิด กล้าอภิปราย • ผู้สอนต้องนำข่าวสาร ปัญหาเศรษฐกิจ การเงิน และสังคม ฯลฯ ที่น่าสนใจรอบ ๆ ตัวมาเป็นหัวข้ออภิปรายในห้องเรียน ….
ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • เชิญผู้รู้มาเป็นแขกแบ่งปันประสบการณ์ และข้อคิดกับนักเรียน • จดจำรายละเอียด ความรู้ใหม่ ๆ ไว้สอน • หาตัวอย่างมาให้เด็กดู ทดลองทำ เช่น ใบฝากเงินธนาคาร ใบขอกู้ • รอบรู้กฎหมาย กฎระเบียบ ฯลฯ ที่เปลี่ยนแปลงเรียนรู้ร่วมกันกับนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ….
ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • แต่ละหัวข้อเรื่องไม่จำเป็นต้องใช้เวลาเรียนเท่า ๆ กัน แล้วแต่ • ความเข้าใจของนักเรียน • ความจำเป็นในแต่ละท้องถิ่นว่าเรื่องใดสำคัญกว่ากัน • ความสนใจของนักเรียน ….
ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • ฝึกนักเรียนให้รู้จักค้นหาข้อมูล ฝึกวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย เฉลียวฉลาด มีความสามารถ รู้จักพบปะผู้คน • อัตราเงินเฟ้อ อำนาจซื้อ ฯลฯ เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ตลอดเวลา ทุกคนต้องเข้าใจและจัดการการเงินของตนให้เท่าทัน ….
ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • รู้จักเปรียบเทียบกับท้องถิ่นอื่น / ประเทศอื่น • การค้าขายระหว่างประเทศ การแข่งขันทางการค้า • การลงทุน แรงงาน วัตถุดิบ โยกย้ายข้ามพรมแดน • อัตราแลกเปลี่ยน • Globalization ต้องแข่งได้ระดับโลก.
ทุกเรื่องที่เรียน อาจไม่ได้ใช้ทันทีทุกประเด็นในชีวิตประจำวัน แต่ทุกเรื่องเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการครองชีวิตในอนาคตเมื่อเป็นผู้ใหญ่
การรู้จักบริหารการเงินการรู้จักบริหารการเงิน เป็นทักษะชีวิต ที่ใช้ได้ตลอดชีวิต เริ่มด้วยความเข้าใจ บริหารและจัดการ เรียนรู้ที่จะมีความรับผิดชอบ