230 likes | 371 Views
การพัฒนาการเรียนการสอน e-Learning เครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน. ประไพพิศ มงคลรัตน์ ผอ.ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย www.lic.chula.ac.th. ประเด็นที่นำเสนอ. ความร่วมมือทั่วไป โครงการพัฒนา คอร์สแวร์ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ
E N D
การพัฒนาการเรียนการสอน e-Learningเครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน ประไพพิศ มงคลรัตน์ ผอ.ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย www.lic.chula.ac.th
ประเด็นที่นำเสนอ • ความร่วมมือทั่วไป • โครงการพัฒนาคอร์สแวร์ • โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ การบริหารหลักสูตร
ความร่วมมือทั่วไป • ข้อมูลด้านการเรียนการสอน e-Learning - วิชา / หลักสูตร • การอบรมระยะสั้น • การพัฒนาคณาจารย์ • - เข้ารับการอบรมโดยตรง • - ถ่ายทอดผ่านระบบ Video Conference • การให้บริการ OpenCourseWare • การให้บริการด้าน e-Book
ความร่วมมือทั่วไป • การพัฒนาคณาจารย์ - การอบรมเรื่อง An exploration of the nature and pedagogy of critical thinking โดย Prof.Dr.Jennifer Moon ม.Bournemouth อังกฤษ วันที่ 20 กรกฎาคม 2553 (ถ่ายทอดไปยังม.นเรศวรและม.วลัยลักษณ์) - การอบรมเรื่อง “บูรณาการหลากวิธีการสอน หลายกิจกรรมการเรียนรู้ สู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย : Blended Learning for Improve Educational Quality”โดย Prof.Dr.Mei-Yan Lu ม.San Jose State สหรัฐอเมริกา วันที่ 9 ธันวาคม 2553
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ฟรี • CU e-Book • นำหนังสือที่เป็นผลงานวิชาการและวิจัยของคณาจารย์จุฬาฯ • มาจัดทำเป็น E-book เพื่อเป็นการบริการวิชาการ การใช้งาน E-book สามารถเข้าใช้งานระบบ E-book ได้ที่ http://www.chula.ac.th หัวข้อการค้นคว้าและวิจัย > หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้ใช้งานสามารถอ่านเนื้อหาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้เสมือนการอ่านจากหนังสือจริง พร้อมทั้งสามารถเลือกหัวข้อที่สนใจได้สะดวกและรวดเร็ว
โครงการพัฒนาคอร์สแวร์โครงการพัฒนาคอร์สแวร์ • หลักการทำงาน - ทำงานเป็นทีมในเครือข่ายภาคกลางตอนบน - ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ เพื่อนำไปใช้ร่วมกัน - พัฒนากรอบแนวคิดด้วยกัน - ช่วยกันผลิต - ร่วมกันพิจารณาผลงาน
โครงการพัฒนาคอร์สแวร์โครงการพัฒนาคอร์สแวร์ • การจัดทำโครงการพัฒนาคอร์สแวร์ด้านเทคนิคการเรียนการสอน สำหรับอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา - เพื่อพัฒนาคณาจารย์ - โดยนำ e-Learning มาใช้ - ผลิตสื่อเรียนรู้ด้วยตนเองสำหรับอาจารย์ระดับอุดมศึกษา • ได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก TCU จำนวน 1,545,000 บาท • ผลิตคอร์สแวร์สำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเองของอาจารย์ 3 โมดูล – 15 วิชา • การสอนที่ไม่ใช่บรรยาย • การสอนทักษะการคิด High Order Thinking • การวัดและประเมินผล
องค์ประกอบของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเององค์ประกอบของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง • ข้อมูลเบื้องต้นของสื่อ • สาระความรู้ • เทคนิคการนำใช้ หรือ เครื่องมือ • กิจกรรมปฏิบัติการ • การวัดประเมินผล
โครงการพัฒนาคอร์สแวร์โครงการพัฒนาคอร์สแวร์ การจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ (Project – based learning) ม.ศรีปทุม โมดูลที่ 1การสอนที่ไม่ใช่บรรยาย มี 5 รายวิชา การจัดการเรียนการสอน แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry – based learning) ม.สุโขทัยธรรมาธิราช การจัดการเรียนการสอน แบบกรณีศึกษา (Case – based learning) ม.เทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ การจัดการเรียนการสอน แบบร่วมมือ (Cooperative – based learning) ม.สุโขทัยธรรมาธิราช การจัดการเรียนการสอน แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem – based learning) ม.รังสิต
โครงการพัฒนาคอร์สแวร์โครงการพัฒนาคอร์สแวร์ โมดูลที่ 2 การสอนทักษะการคิด Critical Thinking มี 5 รายวิชา เปลี่ยนจาก High Order Thinking เป็น Critical Thinking Critical Thinking for Science จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Critical Thinking for Design จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Critical Thinking for Business จุฬาฯ + ว.เซาร์อีสบางกอก Critical Thinking for Humanities ม.กรุงเทพ Critical Thinkingfor Social Science ม.กรุงเทพ
โครงการพัฒนาคอร์สแวร์โครงการพัฒนาคอร์สแวร์ โมดูลที่ 3การวัดและประเมินผล มี 5 รายวิชา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ ม.รามคำแหง การสร้างแบบทดสอบ (Test Construction) ม.รามคำแหง การหาคุณภาพเครื่องมือ (Quality of Tools) ม. รามคำแหง การสร้างเครื่องมือที่ไม่ใช่แบบทดสอบ (Non Test Construction) ว.ราชพฤกษ์ การประเมินเพื่อให้ค่าระดับคะแนน (Grading) และการแปลความหมาย ว.ราชพฤกษ์
ตัวอย่างแผนการดำเนินงาน : โมดูลที่ 2 แผนการดำเนินงานพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการจัดการเรียนการสอน มีทั้งสิ้น 7 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 1) ตั้งคณะทำงาน ประกอบด้วย ผู้แทนจากมหาวิทยาลัยทั้ง 3 แห่ง 2) ประชุมปรึกษาหารือแนวทางการดำเนินงานโมดูลที่ 2 - กำหนดรายวิชาที่จะผลิตทั้ง 5 รายวิชา - รูปแบบของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่จะผลิต 3) มอบหมายผู้รับผิดชอบหลักในการผลิตและการบริหารจัดการ
แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 2 1) ประชุม Focus Group เพื่อหารือเนื้อหาที่จะนำมาผลิตสื่อเรียนรู้ด้วยตนเองใน 5 รายวิชา ประกอบด้วยคณะทำงาน + Content expert (มหาวิทยาลัยละ 3 คน) 2) สรุปรูปแบบของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่จะดำเนินการผลิต ขั้นตอนที่ 3 ประชุม Content expert และผู้ผลิต เพื่อพิจารณารูปแบบของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่จะดำเนินการผลิต ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการผลิตสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 5 ประชุมคณะทำงานเพื่อพิจารณาให้ข้อเสนอแนะสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ดำเนินการผลิตแล้ว -- พิจารณาสื่อร่วมกับโมดูลอื่น ขั้นตอนที่ 6 ผู้ผลิตนำสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ผลิตและคณะทำงานพิจารณาแล้วไปจัดอบรมเพื่อทดสอบคุณภาพ (ประมาณวิชาละ 30 คน) ขั้นตอนที่ 7 ส่งมอบสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง โมดูลที่ 2 ให้ สกอ.
โครงการพัฒนาคอร์สแวร์โครงการพัฒนาคอร์สแวร์ ตัวอย่างสื่อเรียนรู้ด้วยตนเอง มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยศรีปทุม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ขอความร่วมมือ • ในการทดสอบสื่อซึ่งจะทดสอบผ่านทาง online • ข้อเสนอแนะเพื่อนำไปปรับปรุงในโอกาสต่อไป
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรจุฬาฯCU Curriculum Administration System : CU-CAS วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อบริหารหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วย ประเด็นต่างๆที่ระบุไว้ใน มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และมคอ.6 และรวมระบบที่ดำเนินการอยู่แล้วในจุฬาฯ เข้ามาเป็นระบบเดียวกัน
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรจุฬาฯCU Curriculum Administration System : CU-CAS 1. เป็น Web-based ทั้งระบบ 5. มีระบบการประเมินรายวิชา 6. ใช้ e-mail ส่งแบบประเมินผล 2. เชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่แล้วเข้าด้วยกัน 7. มีระบบรายงานการทำงานด้านการสอนของอาจารย์ในแต่ละภาคการศึกษา จุดเด่น 3. ยึดโยงทุกส่วนของระบบ CU-OBC 8. มีระบบรายงานการดำเนินการด้านการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ หลักสูตร และภาควิชาในแต่ละภาคการศึกษา 4. สอดคล้องกับ มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และมคอ.6 ในระบบ TQF
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรจุฬาฯCU Curriculum Administration System : CU-CAS องค์ประกอบ 1. ชุดแบบฟอร์มข้อมูลรายวิชา : Course Specification (CU-CS) 2. ชุดแบบฟอร์ม Curriculum Mapping (CU-CM) และ E-portfolio (CU-EP) 3. ชุดแบบฟอร์ม Course Evaluation (CU-CE) 4. ชุดแบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการประจำภาคการศึกษา (CU-R)
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรจุฬาฯCU Curriculum Administration System : CU-CAS สามารถ Download แบบฟอร์มจาก เอกสารการบรรยาย “ระบบสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2554 ได้ที่ www.academic.chula.ac.th สนใจรับฟังการนำเสนอในการประชุมวิชาการของสกอ. ในวันที่ 8-9 กันยายน 2554
การจัดประชุมวิชาการระดับชาติการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ National e-Learning Day วันที่ 8 - 9 ธันวาคม 2554 ห้องเภตราลัย (Management Theater) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย