1 / 41

B S E

โรควัวบ้า. B S E. โรควัวบ้า. ผู้นำเสนอ ภญ. สุกัญญา เจียระพงษ์ 43075944 ภญ. พิสชา ลุศนันทน์ 43075936 ภญ. ไพทร โอวาท 43075886 วันที่ 8 กรกฏาคม 25 44. โรควัวบ้า. ที่มาและการระบาด โรควัวบ้าคืออะไร สาเหตุการเกิดโรค อาการ/การวินิจฉัย

tori
Download Presentation

B S E

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรควัวบ้า B S E

  2. โรควัวบ้า ผู้นำเสนอ ภญ. สุกัญญา เจียระพงษ์ 43075944 ภญ. พิสชา ลุศนันทน์ 43075936 ภญ. ไพทร โอวาท 43075886 วันที่ 8 กรกฏาคม 25 44

  3. โรควัวบ้า • ที่มาและการระบาด • โรควัวบ้าคืออะไร • สาเหตุการเกิดโรค • อาการ/การวินิจฉัย • การถ่ายทอดโรค • การควบคุมกำกับดูแล

  4. ที่มาและการระบาด • พบ “วัวบ้า” ในอังกฤษ พ.ศ.2528 • โรควัวบ้าเพิ่มจำนวนขึ้นและแพร่ระบาดสู่ ประเทศอื่นๆ

  5. BSE

  6. ที่มา : http://www.maff.gov.uk/animalh/bse/bse-statistics/level-4-weekly-stats.html(29/06/01)

  7. ที่มา : http://www.oie.int/eng/info/en_esbru.htm (06/04/01)

  8. ที่มา : http://www.oie.int/eng/info/en_esbru.htm (06/04/01)

  9. โรควัวบ้า • Bovine Spongiform Encephalopathy (BSE) • Mad cow disease • Cow madness • Raging cow disease ชื่อที่ส่วนใหญ่ชอบเรียก “BSE”

  10. โรควัวบ้า • โรคติดต่อร้ายแรง • เกิดกับวัวเป็นส่วนใหญ่ • จัดอยู่ในกลุ่มโรค TSEs หรือ Prion disease TSEs = Transmissible Spongiform Encephalopathies

  11. โรค TSEs หรือ Prion Disease • โรคที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง • ทำลายเซลล์สมองเป็นรูพรุนคล้ายฟองน้ำ • Spongiform • ระยะฟักตัวของโรคนาน 4-30 ปี • สามารถติดต่อไปยังสัตว์ชนิดต่างๆ/จากสัตว์สู่คน • อาการ การทำงานของกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน เดินโซเซ เปะปะ มีอาการทางประสาท

  12. โรค TSEs หรือ Prion Disease • พบทั้งในคนและสัตว์ • ไม่มีวิธีการรักษา • ตาย! 1 ปี (cont.)

  13. TSEs ในคน • Kuru • CJD • nvCJD • GSS • FFI • Alpers’ Disease

  14. TSEs ในสัตว์ • TME ในมิงค์ • CWD ในกวางและล่อ • FSE ในแมว • Exotic ruminants ในกวาง วัวพันธ์ Ankole ควายไบสัน • Scrapie ในแกะและแพะ • BSE ในวัว

  15. สาเหตุการเกิดโรควัวบ้าสาเหตุการเกิดโรควัวบ้า • การศึกษาทางระบาดวิทยา • อาหารสัตว์ที่นำมาเลี้ยงวัว • อาหารสัตว์ทำมาจากเนื้อ/กระดูกป่นของแกะ ที่เป็นโรค Scrapie • มีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการผลิตอาหารสัตว์ (พ.ศ.2524-2525)

  16. สาเหตุการเกิดโรควัวบ้าสาเหตุการเกิดโรควัวบ้า (ต่อ) • กระบวนการเกิดโรค • Prion เป็นสารก่อโรค Stanley Prusiner บัญญัติคำว่า “Prion Disease” • Prion เป็นโปรตีนที่พบในร่างกายมนุษย์/สัตว์ เรียกว่า Prion protein PrP

  17. สาเหตุการเกิดโรควัวบ้าสาเหตุการเกิดโรควัวบ้า (ต่อ) • กระบวนการเกิดโรค Prion เป็นโปรตีนที่พบในร่างกายมนุษย์/สัตว์ • ปกติ PrPc โครงสร้างเป็น Alpha helix • เป็นโรค PrPsc โครงสร้างเป็น Beta helix • PrPc PrPsc

  18. คุณสมบัติของเชื้อ BSE • ไม่กระตุ้นให้เกิดการอักเสบและตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน • BSE : heat , UV , radiation , chemical • Wet heat > dry heat • Sod. Hypochloride 20,000 ppm , 20 องศาC , 1 hr. • OIE : 50 มม. , saturated steam , ไม่น้อยกว่า 133 องศาC 20 mim , 3 bar inactivate BSE

  19. การแพร่กระจายของ BSE ในเนื้อเยื่อต่างๆ • สมองและไขสันหลัง • รกของแม่วัวเป็นโรค : ไม่เป็นโรค • เนื้อเยื่อกว่า 50 ชนิด : ไม่มีอาการผิดปกติ • น้ำนมวัว : ไม่เป็นโรค No detectable Safe (เนื้อสัตว์ น้ำนม หนังสัตว์ น้ำเชื้อและตัวอ่อน)

  20. Transmission of BSE • ปาก • ปริมาณสมองที่ป้อนทางปาก > ฉีดเข้าสมอง = 200,000 เท่า • Scrapie ใน แพะ แกะ เกี่ยวข้องกับ CJD ? • TSE จะถ่ายทอดในสัตว์ Species เดียวกัน > สัตว์ชนิดอื่น • BSE เป็น dead-end disease ของวัว • หนู แพะ แกะ มิงค์ ลิงบาร์โมเสท และสุกร----> ฉีด (dose สูง) • สุกร และไก่----->ไม่ติดโดยการกินทางปาก • FSE ในแมว สัมพันธ์กับ BSE

  21. Clinical Sign • วัวเนื้อ และวัวนมโตเต็มวัยทั้ง 2 เพศ • วัวนมพันธุ์ขาว-ดำ (Holstein Friesian) • ระยะฟักตัว 2-8 ปี • เริ่มแสดงอาการ 2ปี 11 เดือน - 11 ปี • อาการนาน 2 สัปดาห์ - 14 เดือน • ตายภายใน 4 เดือนหลังจากแสดงอาการ

  22. (cont.) Clinical Sign • อาการที่แสดง • อาการทางประสาท • มีท่ายืนและเคลื่อนไหวผิดปกติ • ตกใจง่าย

  23. (cont.) Clinical Sign อาการส่วนใหญ่ที่พบ • ตื่นเต้น กระวนกระวาย • แสดงอาการชะงัก • ก้าวร้าวต่อวัวตัวอื่นในฝูง และคน • เตะอย่างต่อเนื่องขณะรีดนม • ไม่อยากให้จับหัว มักก้มหัวลงต่ำ

  24. (cont.) อาการส่วนใหญ่ที่พบ • ยกขาสูงกว่าปกติ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งขาหลัง • เมื่อล้มแล้วลุกขึ้นยืนเองยากมากหรือไม่ได้ • กล้ามเนื้อใต้ผิวหนังสั่น • สภาพโดยทั่วไปไม่สมบูรณ์ น้ำหนักลด & น้ำนมลด

  25. การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) • ปัจจุบันยังไม่สามารถหาวิธีตรวจวินิจฉัยโรค BSE ในสัตว์ที่มีชีวิตอยู่ / ในระยะแรกของการติดเชื้อ / ระยะฟักตัว • วินิจฉัยโดยสังเกต Clinical sign • วัวที่ติดโรค BSE มีระยะฟักตัว 5 ปี • ตรวจสอบการติดเชื้อได้ หลังจากรับเชื้อแล้ว 30 เดือน • ในปัจจุบันวินิจฉัยโรค BSE เบื้องต้น โดยตรวจทาง Histopathology (EU & OIE) • Western blotting และ Immunocytochemistry

  26. การทดสอบวัวและแกะ ที่แสดงอาการ • Histopathology test • PrP Protein • Western blot test • Immunocytochemistry

  27. EU ได้ประเมินวิธีการทดสอบอีก 4 วิธี • Prionics (Switzerland) • Enfer Scientific (Ireland) • CEA (France) • EG & G Wallace (การวินิจฉัยในวัวที่ตายแล้ว)

  28. Transmission to Human • BSE เป็นโรคในกลุ่ม Prion disease ที่พบในวัวเท่านั้น • โรคกลุ่ม Prion disease ที่พบทั่วไปในมนุษย์ คือ CJD • ในปี 1996 พบ new strain ของ CJD ที่พบในคนอายุน้อย เรียก nvCJD • มีการเกิด nvCJD ใน UK ซึ่งเป็นประเทศที่มีอุบัติการ BSE สูง • โรค nvCJD สัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับโรค BSE • nvCJD น่าจะเกิดจากการที่มนุษย์ได้สัมผัส(Expose) กับสาร BSE

  29. Transmission to Human (cont.) • การศึกษาแยกชนิดสายพันธ์(Strain-typing) • BSE , nvCJD , FSE , TSEs ของ exotic ruminants Scrapie และ Sporadic CJD • Western blotting • glycosylation pattern ของ BSE และ nvCJDเหมือนกัน • Transgenic mice ยังไม่สามารถสรุปได้ว่า BSE ถ่ายทอดไปสู่มนุษย์ได้ โดยการกินเนื้อวัวหรือผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากเนื้อวัว

  30. สถิติของผู้ป่วย nvCJD • ประเทศอังกฤษ 101 ราย (ตค.39 - มิย.44) • ประเทศฝรั่งเศส 3 ราย • ประเทศไอร์แลนด์ 1 ราย

  31. ผลิตภัณฑ์และเวชภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของวัวผลิตภัณฑ์และเวชภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของวัว • ในการผลิตวัคซีนมีการนำผลิตภัณฑ์ที่ได้จากวัวมาใช้ • สารที่ได้จากไขมันวัว (กลีเซอรีนและเจลาติน) • กรดอะมิโนบางชนิดจากกระดูกวัว • กล้ามเนื้อวัว • ซีรัม

  32. ในขณะนี้มีเภสัชภัณฑ์หรือเวชภัณฑ์ที่มี ส่วนประกอบที่ได้จากวัว • วัคซีนที่มี bovine serum albumin เป็น stabilizer • วัคซีนที่ผลิตโดย cell culture ที่มี bovine serum albumin เป็นส่วนประกอบของอาหารเลี้ยงเซลล์ • เครื่องสำอาง • ‘exotica’ • ‘premium product’ • ครีมชะลอความแก่ • สมองสะกัด รก ม้าม และต่อมไธมัส

  33. การควบคุมและกำกับดูแลการควบคุมและกำกับดูแล • ประเทศอังกฤษ • องค์กรระหว่างประเทศ เช่น WHO,OIE • ประเทศไทย

  34. ประเทศอังกฤษ • ศึกษาวิจัย/หาข้อมูลทางระบาดวิทยา • กำหนดนโยบาย/คำสั่ง/กฎเกณฑ์ต่างๆ เช่น • ห้ามใช้MBMที่มาจากสัตว์สี่กระเพาะ • ห้ามใช้เครื่องในสัตว์ผสมในอาหารเลี้ยงสัตว์ • ห้ามใช้ซากวัวที่ได้จากวัวอายุ >30 เดือนเป็นส่วนผสมของอาหารสัตว์ • ห้ามนำเข้าวัวที่เกิดก่อน18 กค. 2531 • ทำลายวัวและจ่ายค่าชดเชย • ขึ้นทะเบียนวัวที่มีอายุ >30 เดือน • ให้เก็บข้อมูลสัตว์ในฟาร์ม 10 ปีนับตั้งแต่ผสมพันธุ์

  35. WHO • ห้ามการใช้เนื้อเยื่อจากสัตว์สี่กระเพาะมาทำอาหารสำหรับเลี้ยง สัตว์สี่กระเพาะให้แยกเนื้อเยื่อที่มี BSE ออกจากห่วงโซ่อาหาร • กระตุ้นให้ทุกประเทศทำการประเมินความเสี่ยง • ในเนื้อเยื่อ skeletal muscle ให้เอาส่วนของเส้นประสาทและต่อม น้ำเหลืองออก • น้ำนม และผลิตภัณฑ์จากน้ำนม : Tallow และ gelatin • วัคซีนสำหรับคน & สัตว์ : BSE free

  36. นำเข้า วัว เนื้อวัว ผลิตภัณฑ์จากวัว : BSE free • กำหนดระบบเฝ้าระวังและการควบคุม , risk analysis • ขบวนการทำลาย :ไอน้ำที่ 133 องศาC ไม่ต่ำกว่า 20 นาที ความดัน absolute 3 บาร์ • กำหนดชนิดของสินค้าที่ปลอดภัย • ห้ามนำโปรตีนจากส่วนต่างๆของวัวอายุมากกว่า 6 เดือน มาใช้เตรียมอาหาร คน สัตว์ ปุ๋ย เครื่องสำอาง ยา และเครื่องมือแพทย์ • gelatin และ collagen

  37. การดำเนินการของประเทศไทยการดำเนินการของประเทศไทย • กรมปศุสัตว์ : ด้านวัวที่มีชีวิตและอาหารสัตว์ • อย. : ด้านเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์สำหรับมนุษย์ • กรมควบคุมโรคติดต่อ : เฝ้าระวัง CJD & nvCJD

  38. การรักษา TSEs • ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษา • แนวคิดในอนาคต • gene knockout : ขัดขวางมิให้ PrPcเป็น PrPsc • หาสารที่เข้าไปจับที่แกนของ Alpha helix เพื่อให้ คงสภาพ ไม่เปลี่ยนเป็น Beta helix • หา Antigene ต่อ gene ที่สร้าง PrP ไม่ให้มีการสร้าง PrP ในร่างกาย

  39. ข้อเสนอแนะ • หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องต้องติดตาม ตรวจสอบ และเฝ้าระวัง • ให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่ประชาชน • ปกป้องคุ้มครองประชาชนอย่างดีที่สุด • ผู้บริโภคต้องรู้จักป้องกันตนเอง

  40. THE END

More Related