1 / 24

รศ.พญ. สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ ภาควิชาจักษุวิทยา 30 กรกฎาคม 2553

การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา. รศ.พญ. สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ ภาควิชาจักษุวิทยา 30 กรกฎาคม 2553. พันธกิจภาควิชาจักษุวิทยา ด้านวิจัย.

thelma
Download Presentation

รศ.พญ. สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ ภาควิชาจักษุวิทยา 30 กรกฎาคม 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา รศ.พญ.สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ ภาควิชาจักษุวิทยา 30 กรกฎาคม 2553

  2. พันธกิจภาควิชาจักษุวิทยาด้านวิจัยพันธกิจภาควิชาจักษุวิทยาด้านวิจัย สร้างงานวิจัยทางจักษุวิทยาที่มีคุณภาพระดับนานาชาติ เป็นแหล่งองค์ความรู้ และนวัตกรรมซึ่งสามารถประยุกต์ใช้เพื่อตอบสนองต่อปัญหาสาธารณสุขของประเทศ

  3. พันธกิจ และวิสัยทัศน์ของภาควิชาจักษุวิทยา ลูกค้า (C) ผลงานวิจัยมีคุณภาพ กระบวนการภายใน (I) ระบบสนับสนุน กระตุ้น และสร้างแรงจูงใจในการทำวิจัย ระบบจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพ การทำวิจัยที่เป็นแบบสหสาขา และร่วมกับสถาบันอื่น การเรียนรู้ และการพัฒนา (L) บุคลากรได้รับการสนับสนุน กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจที่จะทำวิจัยในทุกด้าน ส่งเสริมอาจารย์ให้มีความรู้ด้านระบาดวิทยา ด้านการเงิน และทรัพยากร (F) แหล่งทุน และทรัพยากรทางการเงิน รวมทั้งอุปกรณ์ที่เพียงพอ

  4. ข้อมูลพื้นฐาน อาจารย์แพทย์ 14 คน (หน่วยย่อย 9 หน่วย) แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน 19 คน แพทย์ประจำบ้านต่อยอด 2 คน ผู้ช่วยวิจัย 2 คน งานวิจัยที่อยู่ระหว่างดำเนินการ/ รอตีพิมพ์ 28 + 26 (พจบ) เรื่อง

  5. ผลการประเมินภาควิชาจักษุวิทยา ปีงบประมาณ 2548-2552

  6. ปัจจัยในการพัฒนางานวิจัยภาควิชาปัจจัยในการพัฒนางานวิจัยภาควิชา ปัจจัยพื้นฐาน ปัจจัยกระตุ้น ระบบการประเมิน ระบบการติดตามผลการดำเนินงาน

  7. ปัจจัยพื้นฐาน • กำหนดให้รองหัวหน้าภาคฝ่ายวิจัย กรรมการวิจัยภาควิชา และผู้ช่วยวิจัย ดูแลงานวิจัยโดยเฉพาะ • ผู้ช่วยวิจัย 2 คน • ติดตามงานวิจัยเป็นรายโครงการ • อำนวยความสะดวกผู้ทำวิจัยในทุกขั้นตอน • รายงานความก้าวหน้าและปัญหาในการประชุมภาควิชาทุกเดือน • ช่วยด้านสถิติ เช่น วิเคราะห์ข้อมูล, คำนวณ sample size • ระบบการช่วยดำเนินงาน ติดตามและเตือนด้านวิจัย • จัดบอร์ดแสดงกิจกรรมต่างๆด้านวิจัย • ระบบจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (LAN system) • กิจกรรมวิชาการ • research club ทุก 3 เดือน • research grand round 1-2 ครั้ง/ปี

  8. ปัจจัยกระตุ้น ให้สิทธิ (first priority) ในการเข้าร่วมประชุมวิชาการ ทั้งในและต่างประเทศ หากมีงานวิจัยนำเสนอ รวมทั้งหาเงินสนับสนุน ทั้งส่วนของ อาจารย์ แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน ผู้ช่วยวิจัยช่วยดำเนินเรื่องเกี่ยวกับการขอรับเงินรางวัลและการตีพิมพ์ กำหนดให้งานวิจัยสำหรับสอบวุฒิบัตร ต้องได้รับการตีพิมพ์ สนับสนุนการส่งงานวิจัยเข้าร่วมประกวดในการประชุม ราชวิทยาลัยรวมทั้งประกาศเกียรติคุณสำหรับผู้ได้รับรางวัล

  9. ระบบการประเมิน • ประเมินอาจารย์ด้านวิจัยอย่างเป็นระบบโดยอาศัย • แบบฟอร์มการให้คะแนน • แบบประเมินอาจารย์ด้านวิจัย • ความสำเร็จตาม KPI ด้านวิจัย ของอาจารย์ • ประเมินงานวิจัยแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านก่อนสอบวุฒิบัตรและตีพิมพ์

  10. ระบบการติดตามผลการดำเนินงานระบบการติดตามผลการดำเนินงาน ผู้วิจัยรายงานผลความก้าวหน้าทุก 3 เดือน (แบบฟอร์มประเมินและลงทะเบียนแสดงความก้าวหน้า) ผู้ช่วยวิจัยติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัยแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านให้เป็นไปตามตารางเวลา ประเมินและประชุมสรุปผลงาน ปัญหา และแผนการดำเนินงานทุกปี

  11. ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์/ตอบรับการตีพิมพ์ปีงบประมาณ 2550 – 2552

  12. ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์/ตอบรับการตีพิมพ์ปีงบประมาณ 2550 – 2552

  13. การประเมินผล ตัวชี้วัด ภาควิชา: 8 ตัวชี้วัดด้านวิจัยภาควิชา การเรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิต 2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ประจำทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (3) 2.21 ร้อยละของบทความจากสารนิพนธ์ปริญญาโทที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ต่อจำนวน สารนิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด (5) การวิจัย 4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ (5) 4.2 มีระบบบริหารจัดการความรู้จากงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ (5) 4.5 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย (บาทต่อคน) (5) 4.7 ร้อยละของอาจารย์ประจำและนักวิจัยได้รับทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบัน ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย (5) 4.9 ร้อยละของงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ (5) 4.10 ร้อยละของอาจารย์และนักวิจัยที่ active งานวิจัยต่ออาจารย์ประจำและนักวิจัย (5)

  14. องค์ประกอบที่ 2 ชื่อตัวบ่งชี้ :2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ประจำทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (ทำได้ 3 ข้อ) 1 = มีการกำหนดแนวทางการพัฒนาอาจารย์ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัย และพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน 2 = มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุ้นให้อาจารย์คิดค้นพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในด้านการเรียนการสอน 3 = มีแหล่งทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและนวัตกรรมทาง การศึกษา 4 = มีผลงานวิจัยด้านการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ ผลงานวิจัยด้านการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษาอย่างสม่ำเสมอ 5 = มีการสร้างเครือข่ายวิจัยด้านนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายใน และภายนอก สถาบัน

  15. กลยุทธ์ /แผนพัฒนางานวิจัย 1. นำผลความก้าวหน้างานวิจัยมาประเมินผลงานอาจารย์อย่างเป็นรูปธรรม 2. สร้างทีมวิจัยที่มีคุณภาพ และได้รับการอบรมด้านระบาดวิทยาทางคลินิกอย่าง สม่ำเสมอ 3. สนับสนุนให้อาจารย์ในภาควิชาเรียนด้านระบาดวิทยา 4. สนับสนุนการอบรมการทำวิจัยด้านแพทยศาสตร์ศึกษาแก่อาจารย์ 5. พัฒนาระบบการเก็บข้อมูลส่งตรวจพิเศษทางจักษุเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งหมด (Refraction, CT orbit, CTVF และ MRI brain) 6. สนับสนุนให้อาจารย์ขอทุนวิจัยจากภายนอกทั้งจากภาครัฐและเอกชน โดยจัดวางแผนและโครงสร้างที่ง่ายไม่ซับซ้อน

  16. ตำแหน่งงานวิจัยภาควิชาจักษุวิทยาตำแหน่งงานวิจัยภาควิชาจักษุวิทยา การสร้างนักวิจัย ผลงานวิจัยภาควิชา

  17. ขอรับข้อเสนอแนะ

More Related