1 / 13

ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบใด (Research Methodology) เครื่องมือวิจัย คืออะไร (Research Tools)

ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบใด (Research Methodology) เครื่องมือวิจัย คืออะไร (Research Tools) วิธีการเก็บข้อมูลเป็นอย่างไร (Data Collection Method) ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร (Data Analysis Method) กำหนดแผนการดำเนินงานอย่างไร (Research Planning)

Download Presentation

ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบใด (Research Methodology) เครื่องมือวิจัย คืออะไร (Research Tools)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบใด (Research Methodology) เครื่องมือวิจัย คืออะไร (Research Tools) วิธีการเก็บข้อมูลเป็นอย่างไร (Data Collection Method) ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร (Data Analysis Method) กำหนดแผนการดำเนินงานอย่างไร (Research Planning) เขียนโครงร่างการวิจัยอย่างไร (Research Proposal) ปัญหาของการวิจัย คำถามของการวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย ทบทวน การวางกรอบการวิจัย 2. วางแผนออกแบบงานวิจัย(Research Design) การวางรายละเอียดภายใต้กรอบการวิจัย อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  2. การออกแบบการวิจัย หมายถึง การจำกัดขอบเขตและการวางรูปแบบการวิจัยเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบที่เหมาะสมกับปัญหาการวิจัย(พวงรัตน์ ทวีรัตน์,2543) ความเที่ยงตรงของการออกแบบการวิจัย(Validity of Research Design) การออกแบบงานวิจัย(Research Design) วัตถุประสงค์ ประโยชน์ 1. ผู้วิจัยสามารถวางแผนควบคุมตัวแปรเกินหรือ ตัวแปรแทรกซ้อนได้ 2. ผู้วิจัยเลือกใช้สถิติได้อย่างเหมาะสม 3. ผู้วิจัยสร้างเครื่องมือเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้ 4. ผู้วิจัยคำนวณค่าใช้จ่ายในการทำวิจัยได้ 5. ผู้วิจัยประเมินความถูกต้องผลการวิจัย 1. เพื่อให้ได้คำตอบการวิจัยที่ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นปรนัย 2. เพื่อควบคุมหรือขจัดอิทธิพลของ ตัวแปรเกินหรือตัวแปรแทรกซ้อน (extraneous variable) 3. เพื่ออธิบายหรือควบคุม ความแปรปรวน (varance) อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนระเบียบวิธีการวิจัยของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา สาขาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ? ? ตัวแปรเกิน สภาพร่างกาย ตัวแปรแทรกซ้อน เวลาอ่านหนังสือ/ศึกษาค้นคว้า อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  4. 11 เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย Research Tools 1. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ผู้วิจัยสร้าง แบบสอบถาม ความคิดเห็น ทัศนคติ ความพึงพอใจ ความต้องการ... แบบสังเกต พฤติกรรมการทำงานของนักออกแบบ การรับประทานอาหารของคนตาบอด... แบบสัมภาษณ์ แนวคิดในการออกแบบ กระบวนการทำงานออกแบบ... แบบประเมิน รูปแบบผลิตภัณฑ์ ตัดสินผล กำกับการทำงาน... แบบทดสอบ ผลลัพธ์ทางการเรียนรู้ วัดความถนัด วัดความคิดสร้างสรรค์วัดบุคลิกภาพ... 2. อุปกรณ์ เครื่องมืออื่นๆ เครื่องวัดแรงกดเจ็บ เครื่องELECTROMYOGRAPHY... อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  5. แบบสอบถาม (Questionnaire) ชุดของคำถามที่ใช้ถามข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ทัศนคติ ความพึงพอใจ ฯลฯ โดยมีคำถามที่ผู้วิจัยเตรียมไว้ถามเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อใช้เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่าง อย่างสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และสมมติฐานของการวิจัย • ส่วนที่ 1 คำชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม วัตถุประสงค์ของการสอบถามองค์ประกอบและลักษณะของชุดคำถาม • ส่วนที่ 2 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม • ส่วนที่ 3 • คำถามที่เกี่ยวกับข้อมูลที่ต้องการศึกษา อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  6. แบบสอบถาม (Questionnaire) • แบบสอบถามให้เลือกตอบคำตอบเดียว (Dichotomous Question) จาก 2 ตัวเลือก • แบบสอบถามให้เลือกตอบคำตอบเดียว (Multiple Choice Questions) จากหลายตัวเลือก • แบบสอบถามให้เลือกตอบหลายคำตอบ (Multiple Response Questions) • แบบมาตรประมาณค่า (rating scale) เป็น การประเมินค่าสิ่งที่ต้องการวัด • แบบจัดลำดับ (ranking) • อื่นๆ เช่นแบบเติมคำ แบบผิดถูก แบบจับคู่ แบบปลายปิด (Closed form) แบบปลายเปิด (Opened form) • แบบสอบถามที่ไม่ได้กำหนดคำตอบไว้แน่นอน ผู้ตอบตอบแบบสอบถามได้อย่างอิสระด้วยความคิดของตนเอง อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  7. ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม กำหนดวัตถุประสงค์ของแบบสอบถาม กำหนดประเด็นหลักของเนื้อหา แจกแจงประเด็นหลักเป็นประเด็นย่อย กำหนดจำนวนข้อคำถาม กำหนดประเภทของคำถาม กำหนดรูปแบบของคำถาม ตรวจสอบความสอดคล้อง จัดทำแบบสอบถามฉบับร่าง ทดลองใช้ แก้ไข และจัดพิมพ์ อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  8. ตัวอย่าง วัตถุประสงค์ของแบบสอบถาม คือ ศึกษาปัญหาด้านเทคนิคต่างๆ ของห้องชุดของคอนโดมิเนียม เขตกรุงเทพมหานคร 1 ประเด็นหลัก คือ ด้านงานตกแต่ง ด้านงานระบบ ด้านงานประปา พื้นที่ส่วนกลาง 2 3 ประเด็นย่อยเพื่อการสอบถามพื้นที่ส่วนกลาง คือ ความปลอดภัยบริเวณที่จอดรถ ความปลอดภัยภายในอาคาร พื้นที่ส่วนกลางคับแคบและไม่เพียงพอต่อความต้องการ ที่จอดรถไม่เพียงพอต่อความต้องการ ค่าบำรุงรักษาพื้นที่ส่วนกลางสูเกินไป ความสะอาดในพื้นที่ส่วนกลาง ปัญหาการบริหารงานนิติบุคคล เป็นต้น อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  9. กำหนดจำนวนข้อคำถาม 4 กำหนดประเภทของคำถาม 5 อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  10. แจกแจงน้ำหนักตามประเด็นหลัก ประเด็นย่อย ดังนี้ 5 สมมติว่าจะมี 50 ข้อ อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  11. 6 กำหนดรูปแบบของคำถาม 7 ตรวจสอบความสอดคล้อง ก่อนทดลองใช้ ผู้วิจัยนำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านการใช้ภาษาตรวจสอบ 8 จัดทำแบบสอบถามฉบับร่าง 9 ทดลองใช้ แก้ไข และจัดพิมพ์ อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  12. รายบุคคล งานมอบหมาย นักศึกษาศึกษารูปแบบหรือลักษณะของประโยคบอกเล่าที่ปรากฏในช่องContent Categories ประโยคบอกเล่าในช่อง Content Categories45 ประโยคมีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ปรากฏด้านบนนี้สร้างแบบสอบถามความคิดเห็น ในลักษณะแบบตรวจสอบรายการ 5 ระดับความคิดเห็น อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

  13. กลุ่ม งานมอบหมาย ออกแบบแบบสอบถามเพื่อเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยใช้หลักการของขั้นตอนในการสร้าง รายงานความก้าวหน้าเพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์เบื้องต้น ในวันที่......................... เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเป็นเวลา 1 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลเพื่อทำการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในภายหน้า สรุปผลลัพธ์ทั้งหมด รวบรวมเป็นรายงานรูปเล่มส่งในวันที่....................... เรื่องที่ 1 ความคิดเห็นต่อการจัดการถังขยะภายในบริเวณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. เรื่องที่ 2 สมรรถนะทางการออกแบบอุตสาหกรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. เรื่องที่ 3 การศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. เรื่องที่ 4 สมรรถภาพทางการวิจัยของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

More Related