1 / 39

278412/278307 Electronic Commerce

278412/278307 Electronic Commerce. บทที่ 6 การตลาดออนไลน์ (1) อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th. Outline. ความหมายของการตลาด ความสำคัญของการตลาด แนวคิดทางการตลาด กลยุทธ์ทางการตลาด ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อของผู้บริโภค

tahir
Download Presentation

278412/278307 Electronic Commerce

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 278412/278307Electronic Commerce บทที่ 6 การตลาดออนไลน์ (1) อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th

  2. Outline • ความหมายของการตลาด • ความสำคัญของการตลาด • แนวคิดทางการตลาด • กลยุทธ์ทางการตลาด • ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ • ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อของผู้บริโภค • แนวทางความสำเร็จของการตลาดในE-Commerce • สรุปแนวทางการทำการตลาด E-Commerce

  3. ความหมายของการตลาด การตลาด คือ การกระทำกิจกรรมต่าง ๆ ในธุรกิจที่ทำให้เกิดการนำสินค้าหรือบริการจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค หรือผู้ใช้บริการนั้น ๆ โดยได้รับความพอใจ ขณะเดียวกันก็บรรลุวัตถุประสงค์ของกิจการ

  4. ความหมายของการตลาด การตลาด (Marketing) หมายถึงกระบวนการวางแผนและการปฏิบัติตามแนวคิดการกำหนดราคาการส่งเสริมการตลาดและการจัดจำหน่ายสินค้าและบริการเพื่อสร้างให้เกิดการแลกเปลี่ยนที่ทำให้ผู้บริโภคได้รับความสุขความพอใจและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร (AMA ปี 85)

  5. ความสำคัญของการตลาด • การตลาดช่วยตอบสนองความต้องการ • การตลาดเป็นแนวทางการดำเนินงาน • การตลาดทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร • การตลาดช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ

  6. แนวความคิดทางการตลาด 1.  แนวความคิดเกี่ยวกับการผลิต (The Production Concept) 2.  แนวความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ (The Product Concept) 3.  แนวความคิดเกี่ยวกับการขาย (The Selling Concept) 4.  แนวความคิดเกี่ยวกับการตลาด (The Marketing Concept) 5.  แนวความคิดเกี่ยวกับการตลาดเพื่อสังคม (The Societal Marketing Concept)

  7. กลยุทธ์ทางการตลาด • กำหนดตลาดเป้าหมาย • กำหนดส่วนประสมทางการตลาด

  8. กำหนดตลาดเป้าหมาย 1.    บุคคลธรรมดาในตลาดผู้บริโภค 2.    ผู้ที่ซื้อเป็นสถาบันหรือองค์กรในอุตสาหกรรม

  9. ลักษณะของผู้บริโภคผ่านทางออนไลน์ลักษณะของผู้บริโภคผ่านทางออนไลน์ • ผู้บริโภคที่ต้องการประหยัดเวลา • ผู้บริโภคที่ต้องการหลีกเลี่ยงปัญหา • ผู้บริโภคที่มีหัวก้าวหน้า • ผู้บริโภคที่ชอบท่องแต่ไม่ชอบซื้อผ่านอินเทอร์เน็ต • ผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าที่จับต้องได้เท่านั้น • ผู้บริโภคที่ชอบแสวงหาสิ่งแปลกใหม่ • ผู้บริโภคที่นิยมตรายี่ห้อ • ผู้บริโภคที่ชอบยกระดับคุณภาพชีวิต

  10. ส่วนประสมทางการตลาด • ส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix) คือ องค์ประกอบที่สำคัญในการดำเนินงานการตลาด เป็นปัจจัยที่กิจการสามารถควบคุมได้ กิจการธุรกิจจะต้องสร้างส่วนประสมการตลาดที่เหมาะสมในการวางกลยุทธ์ทางการตลาด ( ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ, 2541: 35-36, 337 )

  11. ส่วนประสมทางการตลาดแบบเดิม (4’Ps) • Product • Price • Place • Promotion

  12. ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ (6’Ps) • Product • Price • Place • Promotion • Privacy • Personalization

  13. 1. Product • สินค้าที่สามารถจับต้องได้ (Physical Goods) • สินค้าดิจิตอล (Digital Goods) • ธุรกิจบริการ (Services)

  14. สินค้าหรือบริการที่ควรจำหน่ายใน E-Commerce • เป็นสินค้าที่คงทนและขนส่งง่าย ค่าขนส่งไม่แพงมาก • เป็นสินค้าที่มี Brand Name สามารถสร้างความเชื่อถือ ให้กับผู้ซื้อ • เป็นสินค้าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว (หายาก/เลียนแบบได้ยาก) • เป็นธุรกิจบริการ เช่นการจองโรงแรม เป็นต้น • เป็นสินค้าที่สร้างแรงจูงใจให้น่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็นด้านราคา คุณภาพ และความน่าเชื่อถือ

  15. 2. Price ปัจจัยในการตั้งราคา • ต้องคำนึงถึงราคาตลาดเป็นหลัก • การคิดเผื่อราคาค่าขนส่ง • สินค้าราคาถูกอาจจะขายไม่ได้เสมอไป • เน้นเรื่องความสะดวกในการสั่งซื้อ • สินค้าที่มีราคาถูกเกินไปอาจขายแบบรวมแพ็ก

  16. 3. Place ปัจจัยในการพิจารณา • ต้องใช้งานง่าย • เข้าเว็บไซต์หรือดาวน์โหลดเร็ว • ข้อมูลชัดเจนน่าสนใจ • ความปลอดภัยของข้อมูล

  17. 3. Place • การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ • อิเล็กทรอนิกส์สโตร์ฟร้อนท์(Electronic Storefront) ใช้เสนอขายสินค้าภายในเว็บไซต์ของตนเองเท่านั้น เช่น www.amazon.com • อิเล็กทรอนิกส์มอลล์ (Electronic Mall) เป็นเว็บไซต์กลางที่รวบรวมเว็บไซต์ต่างๆ เข้าไว้ในที่เดียวกัน เปรียบเสมือนห้างสรรพสินค้า เช่น www.pantip.com

  18. 3. Place การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ • การให้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Banking) • การให้บริการชำระเงินออนไลน์ (E-Billing) • การให้บริการตลาดนัดแรงงาน (E-Job) • การให้บริการเดินทางและท่องเที่ยว (E-Travel) • การให้บริการชุมชนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Community) • การให้บริการอีเลิร์นนิ่ง(E-Learning)

  19. การสร้างเว็บไซต์ที่มีคุณภาพการสร้างเว็บไซต์ที่มีคุณภาพ • กำหนดกลุ่มเป้าหมายของเว็บไซต์ให้ชัดเจน • สร้างความได้เปรียบโดยเข้าตลาดเป็นรายแรกๆ • สร้างเว็บไซต์ให้มีจุดเด่นหรือความแตกต่าง • สร้างสังคมให้เกิดขึ้นในเว็บไซต์ • ประชาสัมพันธ์ให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย • การสร้างเอกลักษณ์ของเว็บไซต์

  20. ทางเลือกในการจดโดเมนเนมทางเลือกในการจดโดเมนเนม • แบบโดเมนเนมจริงเช่น abc.com • แบบเป็น subdomain เช่น abc.domainservice.com ** การจดทะเบียนโดเมนเนมจะมีค่าบริการรายปี ขึ้นกับผู้ให้บริการ เมื่อจดทะเบียนแล้ว ผู้จดจะได้เป็นเจ้าของโดเมนเนมและสามารถนำไปใช้กับเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นภายหลังได้

  21. ค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียนโดเมนเนมค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียนโดเมนเนม • กรณีจดทะเบียนใน USA (ลงท้ายด้วย .COM .ORG .NET) เสียค่าใช้จ่ายชื่อละประมาณ35 เหรียญสหรัฐต่อปี • โดยชื่อโดเมนในกลุ่มนี้ยึดหลักใครจดชื่อก่อนได้ก่อนไม่สนใจว่าผู้จดจะเกี่ยวข้องกับชื่อนั้นหรือไม่ หมายเหตุ : สามารถติดต่อผู้ให้บริการด้านอีคอมเมริช์(E-Commerce Service Provider)ในไทยได้ เป็นผู้ดำเนินการจดทะเบียนโดเมนเนมได้

  22. ค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียนโดเมนเนม(ต่อ)ค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียนโดเมนเนม(ต่อ) • กรณีจดทะเบียนในไทย (ลงท้ายด้วย .CO.TH , .OR.TH , .GO.TH) • สำหรับในกลุ่มนี้ผู้ที่ขอจดต้องแสดงหลักฐานว่ามีความเกี่ยวพันกับชื่อที่จดด้วยเช่นต้องแสดงทะเบียนบริษัท ท.ค.0401 ด้วย หมายเหตุ : สามารถติดต่อผู้ให้บริการด้านอีคอมเมริช์(E-Commerce Service Provider)ในไทยได้ เป็นผู้ดำเนินการจดทะเบียนโดเมนเนมได้

  23. การจดทะเบียนโดเมนเนม • การจดทะเบียนโดเมนใด ๆ ควรจดตรงกับผู้ให้บริการที่ได้รับความน่าเชื่อถือ และได้รับการรับรองจาก ICANN • ในประเทศไทย ส่วนใหญ่ผู้ให้บริการรับจดทะเบียนโดเมน จะเป็น Reseller หรือ Distributor ของทางต่างประเทศอีกที • ซึ่งมีความสามารถในการจดทะเบียนโดเมน โดยได้รับการรับรองโดยตรงจาก ICANN เช่นกัน • ตัวอย่างผู้ให้บริการรับจดทะเบียนโดเมน เช่น • www.networksolutions.com • www.thnic.co.th • http://thaiinternic.com • http://www.mnetsolution.com • www.ReadyPlanet.com ฯลฯ

  24. การตั้งชื่อโดเมนเนม • การตั้งชื่อโดเมนเนมใช้อักษรภาษาอังกฤษ a-z • โดยไม่คำนึงว่าเขียนด้วยตัวใหญ่หรือตัวเล็ก • ใช้ตัวเลข 0-9 และ ใช้ - ได้เท่านั้น • (การเข้าสู่เว็บไซต์ abc.com จะพิมพ์ว่า ABC.com หรือ AbC.com ก็ได้ จะเข้าสู่เว็บไซต์เดียวกัน)‏

  25. แนวทางการตั้งชื่อโดเมนเนมแนวทางการตั้งชื่อโดเมนเนม • ชื่อแสดงความเป็นธุรกิจ และ keyword เช่น www.tourkrabi.com • สร้าง Brand แสดงความแตกต่างเป็นเอกลักษณ์ • จดจำง่าย ออกเสียงง่าย สะกดง่าย • ไม่ copy เลียนแบบเว็บไซต์ที่มีชื่อเสียง • ไม่ยาวเกินไป หากชื่อยาวต้องจดจำง่าย • ระวังเรื่อง - (Hyphen) หรือการเติม S • ชื่อแสดงความน่าเชื่อถือ • ตั้งชื่อที่ไม่มีความหมายได้ หากชื่อนั้นจดจำง่าย และเจ้าของเว็บไซต์มีการทำตลาดอย่างต่อเนื่อง ที่มา : http://www.thaiecommerce.org

  26. 4. Promotion การเตรียมความพร้อมก่อนประชาสัมพันธ์ • ต้องมีข้อมูลต่างๆ พร้อมและสมบูรณ์ • สร้างจุดเด่นของเว็บไซต์เพื่อจดจำง่าย • สร้างบรรยากาศความคึกคัก โดยให้ลูกค้าเข้าร่วมกิจกรรม • พิจารณากลุ่มเป้าหมาย และงบประมาณ

  27. 4. Promotion การประชาสัมพันธ์แบบออฟไลน์ มีหลายวิธี เช่น • ใส่ในนามบัตร, หัว-ซองจดหมาย • ทำเป็นของชำร่วย เช่น ปากกา พวงกุญแจ • โฆษณาติดตามสื่อเคลื่อนที่ เช่น รถประจำทาง • โฆษณาตามสื่อต่างๆ เช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ • จัดสัมมนาให้ความรู้ • จัดงานแถลงเปิดตัวสินค้าหรือบริการ ฯลฯ

  28. 4. Promotion การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ มีหลายวิธี เช่น • โฆษณาด้วยแบนเนอร์ (ป้ายโฆษณา) • โฆษณาผ่านทาง E-mail • โฆษณาด้วยการเสียค่าใช้จ่ายกับเว็บไซต์อื่น • โฆษณาด้วยระบบสมาชิกแนะนำสมาชิก • โฆษณาด้วยการแลกลิงค์กับเว็บไซต์อื่น • โฆษณาบน Search Engine หรือ Web Directory • โฆษณาผ่าน Social Media

  29. 5.Privacy • ผู้ประกอบการควรกำหนดนโยบายรักษาความเป็นส่วนตัว เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ • โดยเฉพาะข้อมูลส่วนตัวของผู้ซื้อ เช่น • ที่อยู่ • หมายเลขโทรศัพท์ • หมายเลขบัตรเครดิต • ผู้ประกอบการสามารถสมัครเป็นสมาชิกองค์กรTRUSTe เพื่อสร้างความมั่นใจให้ลูกค้าว่าจะดำเนินนโยบายรักษาความเป็นส่วนตัวที่ประกาศไว้

  30. TRUSTe • เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร ทำหน้าที่ตรวจสอบนโยบายรักษาความเป็นส่วนตัวของเว็บไซต์สมาชิก โดยคำนึงถึงหลักการ 4 ข้อ • การเปิดเผยข้อมูล : เว็บไซต์ต้องประกาศนโยบายการรักษาความเป็นส่วนตัวอย่างชัดเจน • ลูกค้ามีทางเลือก : ลูกค้าสามารถเลือกที่จะอนุญาตให้นำข้อมูลไปประมวลผลได้ • การเข้าถึงข้อมูล : ลูกค้าต้องสามารถเรียกดูข้อมูล และแก้ไขข้อมูลส่วนตัวได้ • ความปลอดภัย : เว็บไซต์สมาชิกต้องดูแลความปลอดภัยของข้อมูลลูกค้า

  31. 6. Personalization • เป็นลักษณะการบริการแบบโต้ตอบร่วมกัน (Interactive) ระหว่างผู้ประกอบการกับลูกค้าแบบเจาะจงบุคคล เรียกว่า การตลาดแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Marketing) เพื่อ • นำเสนอสิ่งที่ตรงใจลูกค้า • อำนวยความสะดวกให้กับลูกค้า • สร้างความเป็นกันเองและความประทับใจ

  32. 6. Personalization • การเสนอสินค้าที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าจะต้องเก็บประวัติการซื้อของลูกค้ารายนั้นและลูกค้าที่มีรสนิยมคล้ายกัน • เทคโนโลยี Cookies สามารถช่วยระบุการกลับมาเยี่ยมเว็บไซต์ของลูกค้าที่เคยซื้อสินค้าได้ • ผู้ประกอบการต้องชั่งน้ำหนักระหว่าง Personalization และ Privacy ให้สมดุลเพราะความพยายาม Personalization มากเกินไปอาจละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของลูกค้าได้

  33. พฤติกรรมของผู้บริโภค กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค 1. ขั้นตอนก่อนการตัดสินใจซื้อ 2. ขั้นตอนการซื้อจริง 3. ขั้นตอนหลังการซื้อ

  34. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อของผู้บริโภคปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อของผู้บริโภค • ข้อเสนอที่เป็นประโยชน์ • การบริการส่วนบุคคล • ความสะดวกสบาย • บริการหลังการขาย

  35. แนวทางความสำเร็จของการตลาดในE-Commerce • รู้จุดเด่นของสินค้าที่เหนือคู่แข่ง • กำหนดกลุ่มเป้าหมายชัดเจน (วางตำแหน่งสินค้าชัดเจน) • รู้พฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภค • ศึกษาคู่แข่ง • จัดทำข้อมูลให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด • ปรับปรุงรายการสินค้าที่อยู่ในเว็บไซด์ อย่างสม่ำเสมอ • กำหนดแผนการประชาสัมพันธ์ให้เว็บไซด์เป็นที่รู้จัก • กำหนดกลยุทธ์ในด้านราคาและการส่งเสริมการขาย ที่ เหมาะสมกับสินค้าที่เสนอขายในเว็บไซด์

  36. สรุปแนวทางการทำการตลาดE-CommerceสรุปแนวทางการทำการตลาดE-Commerce • การเลือกสินค้าหรือบริการที่เสนอขายทางอินเทอร์เน็ต • นโยบายในการรับประกันความพึงพอใจและนโยบายการรักษาความเป็นส่วนตัว • การประชาสัมพันธ์เว็บไซด์ • การจัดทำรูปแบบ (Lay out) และเนื้อหา (Content) ในเว็บไซต์ • รายละเอียดเงื่อนไขการขาย

  37. สรุปแนวทางการทำการตลาด E-Commerce • การพัฒนาเว็บไซด์ให้น่าสนใจที่สุดเป็นประโยชน์ที่สุดและตรงกับความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายมากที่สุด • ต้องมีกลยุทธ์การตลาดที่เน้นความแตกต่างและความต้องการเฉพาะของลูกค้าแต่ละราย (Customize) • ระบบการรักษาความปลอดภัยด้านการชำระเงิน • ควรมีระบบการบริหารงานภายใน (Back Office) ที่ดี

  38. ความต่างของเว็บไซด์ E-Commerce ที่สำเร็จและล้มเหลว เว็บไซด์ที่ล้มเหลว 1.รู้ว่าลูกค้าของตนอยู่ไหน 2.เริ่มต้น อย่างค่อยเป็นค่อยไปลงทุนน้อยก่อน 3.ปรับปรุงเว็บตามความต้องการของลูกค้า 4.ผู้บริหารมีประสบการณ์ในธุรกิจยาวนาน 5.ทำตลาดแบบเฉพาะเจาะจง ไม่ทำแบบกว้างเกินไป 1.ทำเพราะว่าอยากทำ ,ตามกระแส 2.ลงทุนมากทุ่มโฆษณาเพื่อให้คนเข้ามาดูมากๆแต่ไม่มีใครซื้อของ 3.ไม่ปรับปรุงเว็บตามความต้องการของลูกค้า 4.ผู้บริหารไม่มีประสบการณ์ในธุรกิจ (เป็นคนหนุ่มไฟแรง) 5.ทำตลาดกว้าง พยายามตอบสนองทุกสิ่งให้ทุกคน เว็บไซด์ที่ประสบความสำเร็จ

  39. ความต่างของเว็บไซด์ E-Commerce ที่สำเร็จและล้มเหลว เว็บไซด์ที่ล้มเหลว 6.ตอบสนองลูกค้ารวดเร็ว และ ซื่อสัตย์ต่อลูกค้า 7.ไม่มีคู่แข่ง เพราะทำได้ยาก (เช่นมีสินค้าที่มีเอกลักษณ์) 8.สินค้ามีตัวตนชัดเจน เข้าใจง่าย 9. ใช้บุคลากรไม่มาก และเงินเดือนไม่สูงเกินไป 10.มีความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ในการส่งเสริมการขาย 6.ไม่ตอบสนองลูกค้า ตามที่ลูกค้าคาดหวัง 7. มีคู่แข่งมาก เพราะทำง่าย (เช่นเป็นสินค้าทั่วไป) 8.สินค้าไม่ชัดเจน 9.ใช้บุคลากรมาก เงินเดือนสูง เกินไป 10.ใช้วิธีการส่งเสริมการขายแบบเดิมๆ ที่ใช้กันทั่วไป เว็บไซด์ที่ประสบความสำเร็จ

More Related