1 / 12

ปฏิยานุพันธ์ (Integral)

ปฏิยานุพันธ์ (Integral). 1. คำจำกัดความของอินทิกรัล. ตัวอย่าง Y = f(x) = x 2. d y = d f(x) = d (x 2 ) = 2x. dx dx dx.  d f(x) = 2x. dx. กำหนดให้ F(x) เป็นอนุพันธ์ของ f(x) เทียบกับ x จงหาฟังก์ชัน f(x). ถ้า F(x)  d f(x) , f(x) = ?. dx.

sybil
Download Presentation

ปฏิยานุพันธ์ (Integral)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปฏิยานุพันธ์ (Integral) 1.คำจำกัดความของอินทิกรัล ตัวอย่างY = f(x) = x2 d y = d f(x) = d (x2) = 2x dx dx dx  d f(x) = 2x dx กำหนดให้ F(x) เป็นอนุพันธ์ของ f(x) เทียบกับ x จงหาฟังก์ชัน f(x) ถ้า F(x)  d f(x) , f(x) = ? dx

  2. สิ่งที่ต้องการหา = ? อ่านว่า อินทิกรัลของ F(x) เทียบกับ x จากคำจำกัดของ และ จะได้ ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัส

  3. ตัวอย่างที่ 1 โจทย์ กำหนดว่า f(x) มีอนุพันธ์ = 2x จงหา f(x) แนวการคิดd (?) = 2x dx เป็นไปได้ 2 คำตอบ คือ x2กับ x2 + c d x2= 2x และ d (x2+ c) =2x dx dx คำตอบที่ดีที่สุด ของ C เป็นค่าคงตัว(arbitrary constant) หาได้จากเงื่อนไขเริ่มต้น (Initial condition) ที่โจทย์บอก

  4. ตัวอย่างการหาค่า C จากตัวอย่างที่ 1 f(x) = x2 + C เงื่อนไข กำหนดให้ f(1) = 3 แทนค่า x = 1 ลงใน f(x) = x2 + C จะได้ f(1) = 3 = (1)2 + C  C = 3 – 1 = 2

  5. 2.ผลที่ตามมาจากคำจำกัดความของอินทิกรัล2.ผลที่ตามมาจากคำจำกัดความของอินทิกรัล 1. เน้น 2. 3. 4. เสริม ) 5.

  6. 3. สูตรของการอินทิกรัล 1. 2. 2. เน้น 3. 4. 5. 6. 7. เสริม 8.

  7. 4.ความหมายเชิงเรขาคณิตของอินทิกรัล4.ความหมายเชิงเรขาคณิตของอินทิกรัล y กราฟของ y = F(x) กำหนดให้ A = A(x) เป็นฟังก์ชันของ พื้นที่ใต้กราฟ PQ ระหว่างจุด a ถึง จุด X กับแกน x เป็นพื้นที่ของรูป axQP Q y P x o a x x+x นั้นคือ ค่า เป็นพื้นที่ใต้กราฟจากจุด a ถึง x ถ้า x = b

  8. วิธีทางเรขาคณิต แบ่งช่วง a ถึง x ออกเป็นช่วงเล็กๆที่มีความกว้าง x จำนวนมาก และคำนวณค่าพื้นที่ yx แต่ละแท่งเล็กๆรวมกัน โดยให้ค่า x0 จะได้ แสดงว่า

  9. 5.อินทิกรัลแบบไม่จำกัดเขตและแบบจำกัดเขต5.อินทิกรัลแบบไม่จำกัดเขตและแบบจำกัดเขต การอินทิกรัลแบบไม่จำกัดเขต เช่น การอินทิกรัลแบบจำกัดเขต เช่น 6.คุณสมบัติเกี่ยวกับการอินทิกรัลแบบจำกัดเขต 1.ถ้า a > b แล้ว 2. เมื่อ a, b, c คือ จุดใดๆในช่วงการอินทิเกรต 3.

  10. ตัวอย่างที่ 2 วิธีทำ ANS ตัวอย่างที่ 3 วิธีทำ ANS

  11. ตัวอย่างที่ 4 du = 2 du = 2dx วิธีทำ กำหนดให้ u = 2x dx ANS

  12. ตัวอย่างที่ 5 กำหนดให้ u = cosx du = -sinx du = -sinxdx วิธีทำ dx ANS

More Related