1 / 17

การใช้ e-Learning เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอน

การใช้ e-Learning เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอน. อ. เสถียร จันทร์ปลา วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏ สวน สุนัน ทา. ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ ICTMODEL. ( Introduce ) ปฐมนิเทศ ทั่วเขต บริบท รู้ปรากฏ ในแหล่ง แห่งเนื้อหา มุ่งเรียนรู้ เพิ่มเติม เสริมปัญญา

starbuck
Download Presentation

การใช้ e-Learning เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ e-Learning เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอน อ. เสถียร จันทร์ปลา วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

  2. ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ ICTMODEL • ( Introduce ) ปฐมนิเทศ ทั่วเขต บริบท • รู้ปรากฏ ในแหล่ง แห่งเนื้อหา • มุ่งเรียนรู้ เพิ่มเติม เสริมปัญญา • หมั่นค้นคว้า ศึกษา วิชาการ • ( Changeover ) จะเรียนร่ำ สิ่งใด ให้กระจ่าง • ยึดแนวทาง ปราชญ์พากเพียร มุ่งเขียนอ่าน • กำหนดตัวตน ก้าวล้ำ ความชำนาญ • เป็นพื้นฐาน สรรค์สร้าง อย่างมั่นคง

  3. ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ ICTMODEL •   ( Technology) เทคโนโลยี ควรคู่ การบริหาร • รู้ใช้งาน ไม่เป็นทาส ตามประสงค์ • ก่อเกิดงาน หลากหลาย หมายจำนง • ใช้เจาะจง นวัตกรรม นำสร้างคน •         ( Moral) คุณธรรม จริยธรรม ล้ำประจักษ์ • ถือไตรลักษณ์ เป็นหลักการ งานเกิดผล • ศีล สมาธิ  ปัญญา ค่าของคน • งามเลิศล้น ก่อสาน วิญญาณครู

  4. ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ ICTMODEL • ( Observe) มั่นสังเกต เรียนรู้ คู่ปฏิบัติ • รู้เจนจัด เรื่องเล็กใหญ่ เก่าใหม่หรู • คอมพิวเตอร์ สื่อสำคัญ หมั่นเปิดดู • หาความรู้ ได้ดั่งใจ ในพริบตา •         ( Discussion) อภิปราย ถ้อยแถลง ให้แจ้งชัด • ปฏิบัติ ตรงประเด็น เห็นปัญหา • ประสานใจ ร่วมกัน ใช้ปัญญา • แก้ปัญหา ตรงจุด รีบรุดพลัน

  5. ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ ICTMODEL • ( Evaluation) งานสำเร็จ เสร็จกระบวน อย่างถ้วนถี่ • ประเมินชี้ ตามจริง ทุกสิ่งสรรพ์ • ตัวชี้วัด จัดไว้ ให้ครบครัน • มุ่งหมายมั่น ประเมินจริง ทุกสิ่งไป •         ( Loves&Links) รักศรัทธา วิชาการ งานสร้างสรรค์ • สิ่งสำคัญ ทำให้แน่ ตรวจแก้ไข • คุณภาพงาน มีค่าแท้ เผยแพร่ไป • เชื่อมโยงไว้ แหล่งศึกษา ปัญญาชน ออกแบบระบบการสอนโดย ดร.ไพฑูรย์ ศรีฟ้า กวีนิพนธ์ โดย อาจารย์สนอง ไสววรรณ

  6. MOODLE : Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment LMS : Learning Management System Open Source พัฒนาโดย : Martin Dougiamas แปลไทย : คุณวิมลลักษณ์ สิงหนาท Oxford University England

  7. ความสามารถของ moodleโดยสรุป เป็น Open Source ที่ได้รับการยอมรับ (11,300,000 เพจประเทศไทย 283,000 เพจ 158 ประเทศ 11-08-2550) สามารถเป็นได้ทั้ง CMS(Course Management System) และ LMS(Learning Management System) ช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เนื้อหาของผู้สอน พร้อมบริการให้นักเรียนเข้ามาศึกษา และบันทึกกิจกรรมของนักเรียน สามารถ สร้างแหล่งข้อมูลใหม่ หรือเผยแพร่เอกสารที่ทำไว้ เช่น Microsoft Office, Web Page, PDF หรือ Image เป็นต้น ใจกว้าง ไม่หวงวิชา มีเอกสารที่เคยรวบรวมไว้ ก็ส่งเข้าไปเผยแพร่ได้โดยง่าย มี ระบบติดต่อสื่อสารระหว่างนักเรียน เพื่อนร่วมชั้น และผู้สอน เช่น chat หรือ webboardเป็นต้น นักเรียนฝากคำถาม ครูทิ้งคำถามไว้ ครูนัดสนทนาแบบออนไลน์ ครูนัดสอนเสริม หรือแจกเอกสารให้อ่านก่อนเข้าเรียน ก็ได้ มี ระบบแบบทดสอบ รับการบ้าน และกิจกรรม ที่รองรับระบบให้คะแนนที่หลากหลาย ให้ส่งงาน ให้ทำแบบฝึกหัด ตรวจให้คะแนนแล้ว export ไป excel สำรองข้อมูลเป็น .zip แฟ้มเดียว ในอนาคตสามารถนำไปกู้คืนลงไปในเครื่องใดก็ได้ อย่างของผมทำวิชาการเขียนโปรแกรม แล้วเก็บเป็น .zip เปิดให้ Download ใครจะนำไปทดสอบกู้คืนในเครื่องตนเองก็ได้ ผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ และใจกว้าง ส่งเสริมเรื่องนี้เพราะ อาจารย์ได้ทำหน้าที่ นักศึกษาได้เรียนรู้ และสถาบันได้ชื่อเสียง อาจารย์เตรียมสอนเพียงครั้งเดียว แต่นักเรียนเข้ามาเรียนกี่รอบก็ได้ จบไปแล้วกลับมาอ่านทบทวนก็ได้

  8. แหล่งข้อมูล หรือกิจกรรม (Resource and Activities) • SCORM (แหล่งข้อมูล ที่รวม Content จากภายนอก ที่เป็นมาตรฐาน) • Wiki (สารานุกรม ที่ยอมให้ผู้เรียนเข้ามาแก้ไข) • อภิธานศัพท์ (Glossary : รวมคำศัพท์ จัดหมวดหมู่ สามารถสืบค้นได้) • ห้องสนทนา (Chat : ห้องที่สามารถนัดเวลาสนทนาระหว่างครู และนักเรียน) • กระดานเสวนา (Forum : กระดานให้ครู และนักเรียนเข้ามาฝากความคิดเห็น) • การบ้าน (Assignment : ที่นักเรียนพิมพ์งานแล้วนำมา upload ส่งครู) • ห้องปฏิบัติการ (Workshop : ที่นักเรียนทำงาน แล้วส่ง ซึ่งประเมินได้หลายแบบ) • ป้ายประกาศ (Label : แสดงข้อความ เพื่อประกาศให้ทราบ) • แบบทดสอบ (Quiz : สร้างคลังข้อสอบ แล้วเลือกมาให้ทำบางส่วน ระบบสามารถอัตโนมัติ) • โพลล์ (Poll : แสดงความคิดเห็นตามตัวเลือก) • แหล่งข้อมูล (Resources : text, html, upload, weblink, webpage, program)

  9. กิจกรรมของผู้สอน (Teacher Activities) • สมัครสมาชิกด้วยตนเอง และรอผู้ดูแล อนุมัติ ให้เป็นผู้สอน หรือผู้สร้างคอร์ส • ผู้สอนสร้างคอร์ส และกำหนดลักษณะของคอร์สด้วยตนเอง • เพิ่ม เอกสาร บทเรียน และลำดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม • ประกาศข่าวสาร หรือนัดสนทนา กับนักเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต • สามารถสำรองข้อมูลในวิชา เก็บเป็นแฟ้มเพียงแฟ้มเดียวได้ • สามารถกู้คืนข้อมูลที่เคยสำรองไว้ หรือนำไปใช้ในเครื่องอื่น • สามารถดาวน์โหลดคะแนนนักเรียนที่ถูกบันทึกจากการทำกิจกรรม ไปใช้ใน Excel • กำหนดกลุ่มนักเรียน เพื่อสะดวกในการจัดการนักเรียนจำนวนมาก • สั่งยกเลิกการเป็นสมาชิกในวิชา ของนักเรียนที่มีความประพฤติไม่เหมาะสม หรือเข้าผิดวิชา • ตรวจสอบกิจกรรมของนักเรียนแต่ละคน เช่น ความถี่ในการอ่านแต่ละบท หรือคะแนนในการสอบแต่ละบท • เพิ่มรายการนัดหมาย หรือกิจกรรม แสดงด้วยปฏิทิน • สร้างเนื้อหาใน SCORM หรือสร้างข้อสอบแบบ GIFT แล้วนำเข้าได้

  10. กิจกรรมของผู้เรียน (Student Activities) • สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรียนเอง • รออนุมัติการเป็นสมาชิก และสมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วยตนเอง (บางระบบ สามารถสมัคร และเข้าเรียนได้ทันที) • อ่านเอกสาร หรือบทเรียน ที่ผู้สอนกำหนดให้เข้าไปศึกษาตามช่วงเวลาที่เหมาะสม • ฝากคำถาม หรือข้อคิดเห็น หรือนัดสนทนาระหว่างเพื่อน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • ทำกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น ทำแบบฝึกหัด หรือส่งการบ้าน • แก้ไขข้อมูลส่วนตัวของตนเองได้ • อ่านประวัติของครู เพื่อนนักเรียนในชั้น หรือในกลุ่ม

  11. การนำ e-learning มาใช้เป็นเครื่องมือช่วยการเรียนการสอน http://teacher.ssru.ac.th/satien

  12. การจัดองค์ประกอบในเว็บไซต์การจัดองค์ประกอบในเว็บไซต์ • Block ด้านบน • Banner • Slide show • Marketing spots • Block ตรงกลาง • Site news • รายวิชา • Block ขวามือ • เข้าสุ่ระบบ • มคอ.3 • มคอ.5 • งานวิจัย • ลิงค์ไปยังแหล่งเรียนรู้ต่างๆ • เว็บไซต์หน่วนงานสนับสนุน Block ด้านล่าง

  13. กระดานถาม-ตอบปัญหา

  14. แบบทดสอบ • ชนิดของคำถาม •  คำถามปรนัย - คำถามถูก/ผิด - คำถามอัตนัย  • - คำถามจับคู่ - คำถามเติมคำตอบด้วยตัวเลขหรือช่วง - คำถามเติมคำในช่องว่าง (Cloze Test) 

  15. แบบทดสอบ

More Related