1 / 51

ถ่ายจากดอยสุเทพ 6 มีนาคม 2549 PM10 = 249 ไมโครกรัม/ ลบ.ม. ใน 24 ชม.

เชียงใหม่ : เมืองในฝันหรือเมืองในควัน Chiang Mai: dreamy or smoggy?. ถ่ายจากดอยสุเทพ 6 มีนาคม 2549 PM10 = 249 ไมโครกรัม/ ลบ.ม. ใน 24 ชม. Taken from Doi Suthep, March 6, 2006, PM 10 = 249 microgram/cu.m. in 24 hr. ทัศนวิสัยดอยสุเทพ จากถนนสุเทพ Visibility of Doi Suthep from Suthep Rd.

skyler
Download Presentation

ถ่ายจากดอยสุเทพ 6 มีนาคม 2549 PM10 = 249 ไมโครกรัม/ ลบ.ม. ใน 24 ชม.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เชียงใหม่: เมืองในฝันหรือเมืองในควันChiang Mai: dreamy or smoggy? ถ่ายจากดอยสุเทพ 6 มีนาคม 2549 PM10 = 249 ไมโครกรัม/ ลบ.ม. ใน 24 ชม. Taken from Doi Suthep, March 6, 2006,PM 10 = 249 microgram/cu.m. in24hr.

  2. ทัศนวิสัยดอยสุเทพ จากถนนสุเทพ Visibility of Doi Suthep from Suthep Rd. 20 พ.ย. 48, PM10 = 44 ไมโครกรัม/ลบ.ม. ใน 24 ชม. 14 มีค.48, PM10 = 382.7 ไมโครกรัม/ลบ.ม. ใน 24 ชม. 20 Nov. 2005at 10.00 a.m. PM 10 = 44 microgram/cu.m. in 24 hr. 14 Mar.2007 at 3:18 p.m. PM 10 = 382.7 microgram/ cu.m. in24 hr.

  3. ไลเคนฟอกขาวช่วงหมอกควันในบริเวณที่ไม่มีต้นไม้Lichen bleached during the haze crisis ห้วยตึงเฒ่า (16 มี.ค.50) Source: Dr. Wanarak Saipankaew, Bio Dept., Fac. Of Science, C.M.U.

  4. ผลกระทบวิกฤตหมอกควัน • การเจ็บป่วย และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร • คนที่เหลือตายผ่อนส่ง มะเร็งปอด ทางเดินหายใจ หลอดเลือดหัวใจตีบ ปอด • นักท่องเที่ยวยกเลิกโรงแรมและสปา 30-100=% หนีไปญี่ปุ่น โดยเขาไม่ต้องทำอะไรเลย • เสียภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวชั้นดี • ผลกระทบยาว

  5. ที่มา: รายงานการสำรวจผลกระทบสุขภาพจากภาวะหมอกควันในเชียงใหม่, กลุ่มศึกษาเรื่องเมือง สถาบันวิจัยสังคม มช., เมษายน 2550.

  6. ที่มา: รายงานการสำรวจผลกระทบสุขภาพจากภาวะหมอกควันในเชียงใหม่, กลุ่มศึกษาเรื่องเมือง สถาบันวิจัยสังคม มช., เมษายน 2550.

  7. แถบมลพิษทางอากาศ มองจากดอยอินทนนท์ วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2551 เวลา 16:15 ภาพโดย: มิ่งหล้า เจริญเมือง

  8. สภาพภูมิประเทศ ของเมืองในภาคเหนือ เกิดสภาพ Inversion

  9. เทศบาลตำบลสารภี 8มค 2551 ภาพโดย: โครงการฮ่วมมือฮ่วมใจ๋ หื้อเจียงใหม่หละปูนอากาศดี สถาบันวิจัยสังคม มช การเผาเกิดขึ้นทุกวัน และทุกพื้นที่ Open burning occurs everyday, everywhere

  10. การเผาในพื้นที่ป่า • เผาไร่นา (ปลายเม.ย. -พ.ค.) • เผาเอาของป่า - เห็ด(ระดับชั้นความสูงต่ำ) • เผาเพื่อรุกที่ป่า (ทำไบโอดีเซล ใน และ นอกประเทศ ขอโฉนดจากสภาพป่าเสื่อมโทรม) • เผาขยะ ใบไม้ ในที่ป่า ภาพโดย: สุเทพ มะเริงสิทธิ์

  11. การก่อมลพิษในพื้นที่ กับ วิกฤตหมอกควันเชียงใหม่ ประกาศเขตภัยพิบัติ 19 มี.ค. ยกเลิกเขตภัยพิบัติ 22 มี.ค. ระดับฝุ่น PM10 ณ สถานีตรวจวัด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 1-27 มีนาคม 2550

  12. การจุดพลุเฉลิมฉลอง การนำวัฒนธรรมมาเป็นการค้า

  13. การประกอบการ

  14. แหล่งมลพิษทางอากาศอื่นๆแหล่งมลพิษทางอากาศอื่นๆ

  15. มลพิษจากการคมนาคมขนส่ง ทางบก และ ทางอากาศ การเพิ่มเที่ยวบิน

  16. แหล่งมลพิษชั้นสอง (Secondary Source) ต้นกำเนิดทุติยภูมิ (secondary source) ตัวทำละลาย(solvent) แอมโมเนีย (Ammonia) การเผาไหม้ของเครื่องยนต์ (Engine Burning) ปฏิกิริยาเคมีแสง Photochemical reaction อนุภาคขนาดเล็ก Particulate matter ที่มา: รศ. ดร. อุษณีย์ วินิจเขตคำนวณ คระแพทย์ฯ มช. Source: Dr. Usanee Winitkadekumnuan, C.M.U.

  17. การเผา ปฏิกิริยาเรือนกระจก และ ปัญหาโลกร้อน รูโอโซนกว้าง โลกร้อนขึ้น  น้ำแข็งขั้วโลกละลาย  กระแสน้ำเย็น-น้ำร้อนเปลี่ยนทิศ  อากาศแปรปรวน ฝนตกหนัก  น้ำท่วม Open burning Global warming Climate change

  18. ฝุ่นทำอะไรเรา (Dust and human body)

  19. เหตุแห่งปัญหา • แบบเรียนอย่างน้อย 13 เล่ม บอกว่าการเผาเป็นการกำจัดขยะที่ถูกวิธี • ค่านิยมรักความสะอาด (ตา) • องค์กรปกครองท้องถิ่นไม่จัดเก็บขยะและกิ่งไม้ใบไม้ • ไม่มีทางเลือกในการจัดการ การเดินทาง • การขายวัฒนธรรม • การขาดความเข้าใจผลกระทบทางลบ • ธุระไม่ใช่ • หลึก • แก้ปัญหาเชิงเดี่ยว ไม่มองเชิงระบบนิเวศ

  20. Global มหภาค (ชุมชนเมือง) ทั่วโลก ระบบอากาศ จุลภาค (บ้านเรือนที่อาศัย) ระบบน้ำ ระบบเมือง ระบบพลังงาน ที่มา: รอบรู้ รังสิเวค และ มาร์โค ชมิดท์ ภาควิชาวิศกรรมควบคุมคุณภาพน้ำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งเบอร์ลิน, เยอรมันนี

  21. ปัญหาการจัดการขยะแบบ “ขอไม่ใช่บ้านฉันเป็นใช้ได้ (Not in my backyard)”

  22. การจัดการแบบ “ของเสียเหลือศูนย์”ลดการก่อมลพิษ และบูรณาการกับประเด็นอื่น

  23. การทำปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ไม่ต้องพลิกกองปุ๋ย ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร โทร 06 917 4846 คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

  24. การผลิตปุ๋ยหมักเพื่อจำหน่ายกลุ่มสมาชิก (จ. พะเยา) กู้ยืมเงินจาก อบต. 100,000 บาท ใช้คืนภายใน 5 ปี ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร โทร 06 917 4846 คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

  25. เครื่องย่อยเศษพืช ราคาประมาณ 52,000 บาท ธีระพงษ์ สว่างปัญญางกูร โทร 06 917 4846 คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

  26. การอัดฟางข้าวเป็นอาหารวัว-ควาย ลดการเผาไร่นา • ติดต่อ รศ. พันทิพา พงษ์เพียจันทร์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • เบอร์มือถือ 0873049832 อีเมล์: puntipa@chiangmai.ac.th

  27. โครงการแป๋งขี้เหยื้อหื้อเป๋นทุน เพื่อลดการเผาขยะ (โครงการบูรณาการฝึกอบรมการเพิ่มมูลค่าของเหลือใช้เพื่อลดมลพิษทางอากาศจากการเผาโดยประชาชนมีส่วนร่วม) ดำเนินการโดย: สถาบันวิจัยสังคม + คณะวิจิตรศิลป์ + คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนับสนุนโดย: งบบูรณาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  28. นำสิ่งที่ถูกเผา มาเป็นวัตถุดิบ ทำเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่

  29. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์จากขยะจากแหล่งอื่นๆ กล่องนมยูเอชทีผลิตเป็นวัสดุก่อสร้าง ใช้แทนไม้อัด บริษัทกรีนบอร์ด

  30. ผนังสร้างจาก บอร์ดกล่องนม ยู เอช ที บริษัทกรีนบอร์ด

  31. เฟอร์นิเจอร์จากกรีนบอร์ด (กล่องนม ยูเอชที) บริษัทกรีนบอร์ด

  32. ผลิตภัณฑ์จากถุงนม กล่องนม ที่มา: สถานพินิจเด็กและเยาวชนพิษณุโลก

  33. ภาชนะทำจากถุงขนมกรุบกรอบภาชนะทำจากถุงขนมกรุบกรอบ ต้นไม้ประดิษฐ์จากกิ่งไม้ที่ถูกตัด และมักถูกเผา

  34. สิ่งประดิษฐ์ใหม่เพื่อแก้ปัญหา – เตาปิ้งย่างแบบไร้ควัน - ประหยัดพลังงาน - ดีต่อสุขภาพ - ได้เงินเพิ่มจากการขายน้ำมันที่กักเก็บได้

  35. วงจรการผลิตก๊าซหุงต้ม จากขยะย่อยสลาย

  36. โรงผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะย่อยสลาย ระยอง แยกขยะ SALE แปรรูป 5 ตันton/d Private Disposal Hazardous 1 ton/d Food Waste22 ton/d Others60ton/day 30ton/mo Others Electricity 160,000 ฿/mo Compost 120 ton/mo 1,000ton/mo RDF in FUTURE Landfill

  37. ผลิตไฟฟ้าจากขยะย่อยสลาย (Landfill) โดยไม่เผา การผลิตไม้อัดจากเศษไม้ ที่มา: Oregon Department of Energy

  38. การผลิตก๊าซหุงต้ม จากขยะย่อยสลาย

  39. การทำเมืองให้เขียวเพื่อลดมลพิษและปัญหาโลกร้อนการทำเมืองให้เขียวเพื่อลดมลพิษและปัญหาโลกร้อน Potsdamer Platz, เบอร์ลิน ที่มา: รอบรู้ รังสิเวค และ มาร์โค ชมิดท์ ภาควิชาวิศกรรมควบคุมคุณภาพน้ำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งเบอร์ลิน, เยอรมันนี

  40. ปลูกต้นไม้ใหญ่และไม้กระถางในบ้านปลูกต้นไม้ใหญ่และไม้กระถางในบ้าน

  41. รัฐออริกอน จะใช้พลังงานหมุนเวียน 100% ค.ศ. 2020 • รัฐวอชิงตัน จะใช้พลังงานหมุนเวียน 100% ค.ศ. 2040 ประเทศไทย? ภาคเหนือ? แต่ละจังหวัด?

  42. ข้อเสนอ • จัดการของเสียแบบเหลือศูนย์ โดยไม่เผา และ/หรือนำไปสู่การผลิตพลังงานโดยไม่เผา บูรณาการความรู้ • แป๋งขี้เหยื้อหื้อเป๋นทุน • การลดเที่ยวบิน ส่งเสริมการใช้รถไฟด่วน รางคู่ • มีทางเลือกในการเดินทางที่ไม่ใช้พาหนะส่วนตัว ระบบขนส่งสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ การสัญจรที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ • ใช้แนวคิด Green City Philosophy วางผังเมืองเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา

  43. สิ่งที่คนไทยต้องเผชิญในอนาคต หากไม่ทำอะไรในขณะนี้ ขยะ(มีพิษและไม่มีพิษ)ล้นเมือง (Waste Management) อากาศเสีย (Air Pollution) อากาศร้อน (Global warming) ภัยแล้ง พายุรุนแรง น้ำท่วมฉับพลัน ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources)ขาดแคลน ไม่มีน้ำมันเชื้อเพลิง(Fossil Fuel)ใช้ (Climate Change)

  44. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ที่นำเสนอ ได้รับการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ

  45. เฟอร์นิเจอร์ ผลิตจากกิ่งไม้ ผลิตภัณฑ์ที่นำเสนอ ได้รับการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ

  46. เฟอร์นิเจอร์ผลิตจากเศษไม้เฟอร์นิเจอร์ผลิตจากเศษไม้ ผลิตภัณฑ์ที่นำเสนอ ได้รับการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ ห้ามลอกเลียนแบบ

  47. ตู้เย็นใช้แล้วนำมาจัดสวนตู้เย็นใช้แล้วนำมาจัดสวน ตัวอย่างการนำของเหลือใช้มาใช้ประโยชน์ ใช้ไมยราพยักษ์แทนไผ่ได้

  48. แต่งสวนด้วยท่อ พีวีซี ก๊อกน้ำ และฝักบัว ที่ไม่ใช้

More Related