140 likes | 577 Views
การใช้ Zoning ในการปรับเปลี่ยน พื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม เป็นอ้อยโรงงาน ของจังหวัดขอนแก่น. สำนักงานเกษตรจังหวัดขอนแก่น. แผนที่พื้นที่นาข้าว จ.ขอนแก่น ( S1+S2+S3+N ) 2 , 719 , 556 ไร่. จำแนกเป็น ( S3+N ) ข้าว 913 , 706 ไร่.
E N D
การใช้ Zoning ในการปรับเปลี่ยน พื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม เป็นอ้อยโรงงาน ของจังหวัดขอนแก่น สำนักงานเกษตรจังหวัดขอนแก่น
แผนที่พื้นที่นาข้าว จ.ขอนแก่น(S1+S2+S3+N) 2,719,556ไร่ จำแนกเป็น (S3+N) ข้าว913,706 ไร่
แผนที่พื้นที่อ้อย จ.ขอนแก่น(S1+S2+S3+N) 930,7066ไร่ จำแนกเป็น (S1+S2) อ้อย825,010 ไร่
แหล่งผลิตสำคัญได้แก่ กระนวน น้ำพอง เขาสวนกวาง เมืองขอนแก่น สีชมพู มัญจาคีรี แผนที่พื้นที่ผลิตอ้อยโรงงาน จ.ขอนแก่น และที่ตั้งโรงงานน้ำตาล ที่ตั้งโรงงานน้ำตาล ๑. รง.ขอนแก่น ๒.รง.มิตรภูเวียง ๓.รง.วังขนาย ๔.รง.อ่างเวียน
พื้นที่ปลูกข้าวของ จ.ขอนแก่น (Land used) รวม (S1+S2+S3+N) = 2,719,556 ไร่ (S1+S2) = 1,805,850 ไร่ (S3+N) = 913,706 ไร่ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกอ้อย (Zoning) (S1+S2) = 4,108,460 ไร่ พื้นที่ปลูกอ้อยของ จ.ขอนแก่น (Land used) รวม (S1+S2+S3+N) = 930,706 ไร่ (S1+S2) = 825,010 ไร่
พื้นที่เป้าหมายจากการซ้อนทับข้อมูลในแผนที่ ดังนี้ • พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกอ้อย (S1+S2)(Zoning) • 2. S1+S2 ที่มีการปลูกอ้อยแล้ว (Land Used) • 3. S3+N ที่มีการทำนา (Land Used) • 4. พื้นที่ในรัศมี 50 กม. จากโรงงาน • ได้พื้นที่เป้าหมาย 499,770 ไร่
แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าวที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย จ.ขอนแก่น เป้าหมาย 26อำเภอ 449,770 ไร่
การขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมการขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวในที่ไม่เหมาะสม เป็นอ้อยโรงงาน จังหวัดขอนแก่น
การขับเคลื่อน • ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม • มีคณะ กก.อำนวยการ (ผวจ. ประธาน) และคณะทำงานขับเคลื่อนฯ ระดับจว.(กษ.จ. ประธาน) • ประสานงานและบูรณาการกับภาคีต่างๆ ในพื้นที่ • เป็นการดำเนินการที่ได้รับประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่าย (Win-Win Situation) 9
แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าวที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย อ.เมืองขอนแก่น จังหวัด ส่งพื้นที่เป้าหมายให้อำเภอดำเนินการ(อ.เมือง 56,533 ไร่)
แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าวที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย ต.ดอนหัน อ.เมืองขอนแก่น อำเภอ ส่งพื้นที่เป้าหมายให้ตำบลดำเนินการ(ต.ดอนหัน อ.เมือง 14,418 ไร่)
ความสามารถในการรับผลผลิตเพิ่มความสามารถในการรับผลผลิตเพิ่ม ของ รง.น้ำตาลที่ร่วมโครงการ 4รง. • รง.ขอนแก่น 500,000ตัน (50,000 ไร่) • รง.มิตรภูเวียง 1,000,000ตัน (100,000 ไร่) • รง.อ่างเวียน 300,000ตัน (30,000 ไร่) • รง.วังขนาย 270,000 ตัน (27,000 ไร่) • รวม 2,070,000ตัน (207,000 ไร่) การดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกอ้อยนั้น จะต้องจะต้องนำข้อมูลความสามารถในการรับผลิตเพิ่มของโรงงานมาพิจารณา 12
แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าวที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย จ.ขอนแก่น เป้าหมาย 26อภ.449,770 ไร่ Fสนใจ4.500 ราย 30,377ไร่ ปลูกแล้ว864 ราย 15,058ไร่
การสนับสนุน • อบรมให้ความรู้นักส่งเสริมการเกษตร เรื่องเทคโนโลยีการผลิตอ้อย • นักส่งเสริมการเกษตรถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกร • โครงการปลูกข้าวไร่หลังรื้อต่ออ้อย (ตัดวงจรโรคใบขาวอ้อย) • แปลงส่งเสริมปลูกอ้อยพันธุ์ดี/อ้อยปลอดโรคในพท.นาน้ำท่วมซ้ำซาก และพท.นาดอน (งบพัฒนา จว. / กลุ่ม จว.) • ใช้เทคโนโลยี “ปุ๋ยสั่งตัด” เพื่อลดต้นทุนการผลิต • ศึกษาแปลงอ้อยที่เก็บเกี่ยวได้ 10 ครั้ง จากการปลูกครั้งเดียว 14