1 / 17

การยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย "Ending A IDS in Thailand"

การยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย "Ending A IDS in Thailand". เราจะร่วมกันยุติปัญหาเอดส์ได้อย่างไร. THAILAND. สถานการณ์การระบาดของการติดเชื้อเอชไอวีของประเทศไทย. การระบาดอยู่ในระยะอิ่มตัวและมีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลงตามธรรมชาติ

sirvat
Download Presentation

การยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย "Ending A IDS in Thailand"

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย"Ending AIDS in Thailand" เราจะร่วมกันยุติปัญหาเอดส์ได้อย่างไร THAILAND

  2. สถานการณ์การระบาดของการติดเชื้อเอชไอวีของประเทศไทยสถานการณ์การระบาดของการติดเชื้อเอชไอวีของประเทศไทย • การระบาดอยู่ในระยะอิ่มตัวและมีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลงตามธรรมชาติ • การระบาดสูงสุดในช่วงระหว่างปี 2533-2543 โดยมีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ประมาณ 160,000 คน ต่อปี • ในปี 2555 ประมาณการผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ น้อยกว่า 10,000 คน • ปัจจุบันผู้ติดเชื้อฯที่ยังมีชีวิตอยู่ประมาณ 500,000 คน • ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ ประมาณ 280,000 คน ( ครอบคลุม 70% เกณฑ์เริ่มรักษา เมื่อ CD4 <350) • พฤติกรรมการป้องกันของกลุ่มประชากรหลัก มีระดับคงที่ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา • อัตราติดเชื้อฯเมื่อแรกเกิด ปี 2555: 2.7% THAILAND

  3. ประชากร และพื้นที่เป้าหมาย 89% ของผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ 38,883 คน อยู่ในกลุ่มประชากรหลัก 66% ของผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ อยู่ใน 33 จังหวัด

  4. การยุติปัญหาเอดส์ (Ending AIDS) AIDS-free generation • การติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ลดลง ร้อยละ 90 (<1,000 ราย/ปี) • ไม่มีเด็กติดเชื้อเอชไอวีเมื่อแรกเกิด • ผู้ติดเชื้อเอชไอวีทุกคนเข้าถึงการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ แต่เนิ่นๆ ช่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และป้องกันการถ่ายทอดเชื้อฯให้ผู้อื่น

  5. Efficacy of HIV Prevention Strategies From Randomized Clinical Trials Effect Size, % (95% CI) Study HPTN 052 , ART for prevention; Africa, Asia, Americas 96 % (73-99) Partners PrEP, PrEP for discordant couples; Uganda, Kenya 73 %(49-85) TDF2, PrEPfor heterosexual men and women; Botswana 63 % (21-84) Medical male circumcision; Orange Farm, Rakai, Kisumu 54 %(38-66) iPrEX, PrEP for MSMs; Americas, Thailand, South Africa 44 % (15-63) Sexually transmitted diseases treatment; Mwanza, Tanzania 42 %(21-58) CAPRISA 004, Microbicide;South Africa 39 %(6-60) RV144, HIV vaccine;Thailand 31 % (1-51) 0 20 40 60 80 100 Efficacy (%) Abdool Karim SS, et al. Lancet. 2011;[Epub ahead of print].

  6. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ปี 2553-2573 มาตรการปัจจุบัน ลดลง 50% ปี 2558 การป้องกันผสมผสาน ยุติปัญหาเอดส์ ปี 2573

  7. HIV Tests needed per Year 2016-2025: 1 HIV detected = 54,000 tests 2016-2025: 1 HIV detected = 2,800 tests

  8. Towards the End of AIDS HLM Target 5,921 HIVA Increasing HIV testing andcounseling to 90% among key populations, and treating people with CD4 counts < 350, will avert around 6,000 new HIV infections in the next decade 10,686 HIVA But HIV testing andcounseling of 90% key populations, and treating people independent their CD4 counts will avert additional 11,000 new HIV infections in the next decade

  9. Towards the End of AIDS 251,818 ARV 5,921 HIVA 143,575 ARV 10,686 HIVA US$ Marginal Costs to treat independent CD4 count Benefit 95 mil

  10. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ มติเห็นชอบ ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๙ ที่รวมเรื่อง มาตรการยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๖ มติเห็นชอบ มาตรการยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๖ มติเห็นชอบ วงเงินมาตรการยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย มติการประชุมคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกัน และแก้ไขปัญหาเอดส์

  11. มาตรการเพื่อยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทยมาตรการเพื่อยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย • ขยายความครอบคลุมการดำเนินงานป้องกันผสมผสาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การให้การปรึกษาและตรวจการติดเชื้อ เอชไอวี ในกลุ่มประชากรหลัก คือ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พนักงานบริการ (sex worker) ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ครอบคลุม 90% • รักษาผู้ติดเชื้อฯด้วยยาต้านไวรัสแต่เนิ่นๆ ในทุกคนที่ตรวจพบเชื้อฯ ไม่ว่า CD4 จะเท่าใด • สนับสนุนให้ผู้ติดเชื้อฯกินยาสม่ำเสมอ มีอัตรากินยาต่อเนื่อง (Adherence > 90%) • บริหารจัดการข้อมูลและการรายงานแนวใหม่ • ทำให้การตรวจการติดเชื้อเอชไอวี เป็นเรื่องปกติวิสัย (Normalize HIV)

  12. การปฏิรูประบบบริการ • ปรับแนวคิดการทำงานที่ไม่แยกส่วนงานป้องกันและการรักษา แต่เป็นการทำงานร่วมกัน • พัฒนาการให้บริการ • การให้การปรึกษาและตรวจการติดเชื้อเอชไอวีที่ รพ.สต. ศูนย์ Drop-in และพิจารณาการตรวจด้วยวิธีง่าย • การรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯแต่เนิ่นๆ และการสนับสนุนการกินยาสม่ำเสมอโดยชุมชน • ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน • Normalize HIV

  13. แผนปฏิบัติการแห่งชาติเพื่อยุติปัญหาเอดส์ (ปีงบประมาณ 2558-2562)

  14. การเปลี่ยนวิธีทำงาน:ก้าวข้ามจาก การควบคุมไปสู่การยุติ ปัญหาเอดส์ ยุทธศาสตร์มุ่งเติมเต็มช่องว่างระหว่างการดำเนินงานในปัจจุบันกับการดำเนินงานที่มีประสิทธิผลที่จำเป็นต่อการยุติปัญหาเอดส์ โดย: 1. กำหนดชุดบริการ ที่เหมาะสมกับกลุ่มประชากรเป้าหมาย และพื้นที่ 2.ผสมผสาน ประโยชน์ด้านการป้องกันของการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯกับการป้องกันด้านพฤติกรรม

  15. ชุดบริการที่มีความเหมาะสมชุดบริการที่มีความเหมาะสม • ด้านพื้นที่:จังหวัดเป้าหมายซึ่งมีความชุกสูงที่สุด, ขนาดประชากรเป้าหมายสำคัญมากที่สุด • กรุงเทพฯ • จังหวัดเร่งรัด • จังหวัดอื่น • ด้านประชากร : มุ่งการทำงานในกลุ่มประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูงสุด • ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย • สาวประเภทสอง • พนักงานบริการชาย • พนักงานบริการหญิง • ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด • ผู้ต้องขัง • เยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงสูง • ประชากรข้ามชาติที่มีภาวะเสี่ยงสูง • คู่ของ : • สมาชิกในกลุ่มประชากรหลัก • ผู้ติดเชื้อฯซึ่งอยู่ในระบบดูแลสุขภาพ • ART clinic • ANC clinic

  16. กรอบปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์กรอบปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์: ไม่มีผู้ติดเชื้อฯ รายใหม่, ไม่มีผู้เสียชีวิตจากเหตุที่เกี่ยวเนื่องกับเอดส์, และ ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ การเข้าสู่ระบบ – การตรวจเอชไอวี – การรักษา – การคงอยู่ในระบบ (RECRUIT) (TEST) (TREAT)(RETAIN) กำหนดบริการที่ต่อเนื่องตลอดทั้ง 4 องค์ประกอบ ประเด็นร่วม: การทำให้ระบบเข้มแข็งและการสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน

  17. ประเด็นสำคัญ • การเข้าถึงกลุ่มประชากรเป้าหมายที่มีภาวะเสี่ยงสูง • การเพิ่มความครอบคลุมของการตรวจการติดเชื้อฯของกลุ่มประชากรหลัก • การทำให้ผู้ที่ตรวจการติดเชื้อฯและผลลบ มีพฤติกรรมป้องกัน และมาตรวจการติดเชื้อฯ สม่ำเสมอ • การเชื่อมต่อให้ผู้ที่ตรวจการติดเชื้อฯและผลบวกได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ • การสนับสนุนให้ผู้ติดเชื้อฯกินยาสม่ำเสมอ • การสร้างสภาวะแวดและปรับทัศนะของสังคม

More Related